Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorวัชรี วุฒิชัยen_US
dc.date.accessioned2023-07-06T00:37:24Z-
dc.date.available2023-07-06T00:37:24Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78338-
dc.description.abstractThe purpose of this study were 1) to study of students' creativee thinking ability after using brain-based learning activities in geography strand, and 2) to study students' environmental awareness after using brain-based learning activities in geography strand. The target group of the study was 16 Grade 3 students. The tools used in the study were 1) 5 lesson plans using brain-based learning activities to develop creativee thinking ability and environmental awareness in geography strand, 15 hours, 2) creativee thinking ability assessment form based on Guilford's four factors, and 3) eenvironmental awareness assessment form it was divided into 2 parts: the teacher's student assessment form, and the student self-assessment form. Data were analyzed by percentages, means, and standard deviations. The results of this study were that 1) creative thinking ability of students after using brain-based learning activities in geography strand was a very good level, which was 83.20 percent, higher than the established 70 percent criterion, and 2) eenvironmental awareness of students after using brain-based learning activities in geography strand was at the high level, higher than the established 70 percent criterion.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์และความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมในสาระภูมิศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeEffects of using brain-based learning activities to develop creative thinking ability and environmental awareness in geography strand for grade 3 studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashภูมิศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashความคิดสร้างสรรค์-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนประถมศึกษา-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนประถมศึกษา -- การประเมิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานในสาระภูมิศาสตร์ และ 2) ศึกษาความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานในสาระภูมิศาสตร์ โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 16 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดสร้างสรรค์และความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมในสาระภูมิศาสตร์ จำนวน 5 แผน 15 ชั่วโมง 2) แบบประเมินความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ โดยยึดองค์ประกอบ 4 ด้านของ Guilford และ 3) แบบประเมินความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ แบบครูประเมินนักเรียนและแบบนักเรียนประเมินตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานในสาระภูมิศาสตร์โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 83.20 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดขึ้น และ 2) ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมของนักเรียนหลัง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสมองเป็นฐานในสาระภูมิศาสตร์ ทั้งในส่วนครูประเมินนักเรียนและนักเรียนประเมินตนเอง อยู่ในระดับมาก สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดขึ้นen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๔๐๒๓๒๐๓๖ วัชรี วุฒิชัย.pdf20.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.