Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78311
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Juggapong Natwichai | - |
dc.contributor.author | Krittai Tanasombatkul | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-04T10:16:47Z | - |
dc.date.available | 2023-07-04T10:16:47Z | - |
dc.date.issued | 2022-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78311 | - |
dc.description.abstract | Theaim of this independent studyis to develop a data analytics and visualization using antibiotic prescription data in the critical care unit. Since usage of antibiotics in the current situation is extremely high, eventually it has resulted in the global development of antibiotic resistance, affecting patient treatment and outcomes. Inappropriate or poor antibiotic usage can result in prolonged duration of stay, multidrug-resistant infections, or evendeath. Furthermore, critically ill patients admitted to Intensive Care Units (ICUs) are at greater risk of serious morbidity and death if antibiotic therapy fails. Despite the hospital's establishment of the "Antibiotic smart use team" to control antibiotic consumption in order to make it more cost-effective and safer, the amount of antibiotics used in intensive or critical care unit wards continues to rise. As a result, determining whether the prescriptions are appropriate is challenging. In this independent study, we will focus on developing a reproducible automated process to extract and transform (ET) antibiotic prescription data from the critical care unit into appropriate transactional data, which allows further analysis and visualization. Furthermore, this study aims to build analytical visualization according to the requirements acquired from the executive of the Maharaj Nakorn Chiang Mai hospital's Antibiotic smart usage team. This study reveals significant insights from antibiotic usage in critical care units, which will be able to supply as supporting data for the quarterly meeting of the Antibiotic Controller's Board of Directors in order to improve the clinical care system and, most importantly, will be a primary supporting data for future health data decision support system development in Thailand. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of antibiotics usage monitoring system in critical care unit of Tertiary Hospital in Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาระบบติดตามความเหมาะสมของการใช้ยาปฏิชีวนะในหอผู้ป่วยวิกฤตของโรงพยาบาลตติยภูมิในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.lcsh | Hospital wards | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Disinfection and disinfectants | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Information visualization | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างไม่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่งต่อการเกิดปัญหาเชื้อ แบคที่เรียดื้อยาซึ่งปัญหาดังกล่าวสามารถส่งผลเสียต่อการรักษากาวะติดเชื้อและส่งผลต่อภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วยทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยเฉพาะผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตที่มักจะมีการเจ็บป่วยที่รุนแรงอยู่ ในภาวะเปราะบางเสี่ยงต่อการติดเชื้อแบคที่เรียแบบฉวยโอกาสนอกจากนี้ผู้ป่ายวิกฤตมักได้รับการ รักษาด้วยยาหลายชนิดรวมถึงยาฆ่าเชื้อซึ่งการใช้ยาฆ่าเชื้ออย่างไม่เหมาะสมจะส่งผลเสียรุนแรงต่อ ผู้ป่วยวิกฤตโดยมีความเสี่ยงที่จะมีอาการรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิตจากการติดเชื้อได้ปัญหานี้เป็นปัญหา สำคัญระดับสากล โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่ระบบการจัดการเรื่องยาฆ่าเชื้อยังไม่สมบูรณ์ ซึ่งหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยเองก็ได้มีมาตรการเพื่อที่จะพยายามติดตามและควบคุม การใช้ยาฆ่าเชื้อให้เป็นไปอย่างเหมาะสมโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่เป็น โรงพยาบาลระดับ ตติยภูมิ ก็ได้มีการจัดตั้งทีม Antibiotic smart use เพื่อควบคุมดูแลการใช้ยาฆ่าเชื้อในโรงพยาบาล พบว่าปริมาณการใช้ยาฆ่าเชื้อชนิดควบคุมในหลายหอผู้ป่วชนั้นลดลงชัดเจนยกเว้นในหอผู้ป่วยวิกฤต ที่กลับมีปริมาณการใช้ยาฆ่าเชื้อชนิดควบคุมเพิ่มขึ้น หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรมและทีม Antibiotic smart use จึงมีความประสงค์ที่จะค้นหาปัญหาของการปริมาณการ ใช้ยาฆ่าเชื้อชนิดควบคุมที่เพิ่มขึ้นในหอ ผู้ป่วยวิกฤตนี้ ว่าเป็นการใช้ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งนี้ข้อมูลการใช้ยาฆ่าเชื้อของโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ในปัจุบันนั้นมีความซับซ้อนสูงมาก ไม่สามารถนำมาใช้เพื่อตอบปัญหาดังกล่าวได้ ในทันที มีข้อจำกัดในการนำข้อมูลไปวิเคราะห์ต่อยอด ดังนั้นผู้วิจัยจึงเสนอการค้นคว้าอิสระนี้เพื่อออกแบบระบบที่ทำการปรับรูปแบบข้อมูลดังกล่าว ให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (Transactional data)เพื่อที่จะสามารถนำไปวิเคราะห์ และ แสดงมโนภาพเพื่อใช้ประโยชน์ตามความต้องการของเจ้าของข้อมูล ซึ่งมโนภาพนี้จะแสดงให้เห็นถึง การสัดส่วนบริเวณที่มีการติดเชื้อรวมถึงการวินิจฉัย เชื้อเบคที่เรีย และ การใช้ยาฆ่าเชื้อว่าเป็นการสั่งยาฆ่าเชื้อที่ตรงกับผลเพาะเชื้อหรือไม่ (Concordance order) เพื่อที่เจ้าของข้อมูลจะได้นำไปวางแผน กลยุทธ์ในการควบคุมติดตามการใช้ยาฆ่าเชื้อต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630632063 กฤตไท ธนสมบัติกุล.pdf | 2.94 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.