Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวีวรรณ แพทย์สมาน-
dc.contributor.authorพีระพงศ์ พุทธวงค์en_US
dc.date.accessioned2023-07-04T09:53:21Z-
dc.date.available2023-07-04T09:53:21Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78309-
dc.description.abstractManagement of Granting the Citizenship and Individual Status to the Person without Registration Status: A Case Study of Pai District, Mae Hong Son Province has 2 objectives; of this study were as follows; (1) to study management methods and (2) to The effectiveness of management according to the strategy to manage problems of status and rights of individuals in Pai District Mae Hong Son Province. The qualitative research method was used to collect data from two resources including secondary data obtained from a documentary study and primary data obtained from in-depth interviews and participant observation. Two groups of key informants were interviewed with 12 offices and 16 persons without registration status. For study method based on Policy Implementation Policy Evaluation and New Public Management: NPM. The findings are cabinet resolution on 18 January 2005, 7 December 2010, and 26 January 2021 was converted into the announcement of the Ministry of Interior. They can be divided into the following issues: 1) The administration of granting Thai nationality and obtaining an alien status to enter lawful immigration for persons without registration status in the Pai District. Mae Hong Son Province Both in terms of management with good management processes and determinants of successful policy implementation. 2) Effectiveness of the Implementation of the Strategic Management of Status and Rights Problems of Individuals in Pai District Mae Hong Son is productive. But the appropriateness criteria for the reasons summarized above as bad policies are caused by limitations in target groups that have not been explored and developed or updated. But if it is updated, then the researcher believes that the number of persons does not have the registration status of Pai District. Mae Hong Son Province will have several less than 4,408 people, according to which there has been a survey and a history register from the beginning. In addition, the researcher proposed two problems and obstacles: the first issue was Problems and obstacles for the operators, that is, while the status and rights of persons without registration status have been improved accordingly, the welfare The progression path of practitioners, especially those working on nationality and personal status that are not developed according to And another issue is the problem of obstacles for people without registration status who do not have a domicile. As a result, there was a lack of witnesses in the area to testify and did not receive sufficient information publicity. In addition, information has been recorded in the wrong history register, resulting in no credibility, and cannot be used as other reference evidence. Suggestions on the issue are 1) there should be a readiness survey of practitioners or ask practitioners' opinions on the policy, 2) reduce restrictions on the exchange of necessary information, and 3) they should alway a regular review of the criteria qualifications.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนen_US
dc.subjectการขอมีสัญชาติไทยen_US
dc.subjectการขอมีสถานะคนต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายen_US
dc.subjectการบริหารจัดการการให้สัญชาติไทยและสถานะบุคคลen_US
dc.titleการบริหารจัดการการให้สัญชาติไทยและสถานะบุคคลแก่บุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียน กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeManagement of granting the citizenship and individual status to the person without registration status: A Case study of Pai District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสัญชาติ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashคนต่างด้าว -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashสิทธิมนุษยชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการบริหารจัดการการให้สัญชาติไทยและสถานะบุคคลแก่บุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียน กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการบริหารจัดการและประสิทธิผลของการบริหารจัดการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลในพื้นที่อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แหล่งข้อมูลในการศึกษา 2 ประเภท ประกอบด้วยข้อมูลทุติยภูมิ เป็นการศึกษาจากเอกสาร และข้อมูลปฐมภูมิ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากผู้ให้ข้อมูลที่กำหนดไว้โดยรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 12 คน และ (2) บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนที่ขอมีสัญชาติไทยและขอมีสถานะคนต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย จำนวน 16 คน รวมทั้งสิ้น 28 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม โดยใช้แนวคิดการนำนโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย และการบริหารภาครัฐสมัยใหม่ พบว่า มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 7 ธันวาคม 2553 และ 26 มกราคม 2564 ถูกแปลงเป็นแนวทางปฏิบัติในรูปของประกาศกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถแยกออกตามประเด็นดังนี้ 1) การบริหารจัดการการให้สัญชาติไทยและการขอมีสถานะคนต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายของบุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนในพื้นที่อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทั้งในแง่ของการบริหารจัดการที่มีการบวนการบริหารที่ดีและปัจจัยกำหนดการนำโยบายไปปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จ 2) ประสิทธิผลของการดำเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลในพื้นที่อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีประสิทธิผล แต่เกณฑ์ความเหมาะสมเหตุที่สรุปไปข้างต้นว่าเป็นนโยบายที่ไม่ดีนั้นเกิดจากข้อจำกัดกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้มีการสำรวจและจัดทำหรือปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน แต่หากมีการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันแล้วผู้วิจัยเชื่อว่าจำนวนบุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนของอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอนจะมีจำนวนไม่ถึง 4,408 คนตามที่ได้มีการสำรวจและจัดทำทะเบียนประวัติไว้ตั้งแต่ต้นแน่นอน นอกจากนี้แล้วผู้วิจัยได้เสนอประเด็นปัญหาและอุปสรรคออกเป็น 2 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นแรกคือ ปัญหาอุปสรรคต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กล่าวคือ ในขณะที่สถานะและสิทธิของบุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นตามลำดับแต่สวัสดิการ เส้นทางความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติโดยเฉพาะลูกจ้างปฏิบัติงาน ด้านสัญชาติและสถานะบุคคลที่ไม่ได้รับการพัฒนาตาม และอีกประเด็นหนึ่งคือปัญหาอุปสรรคต่อบุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนที่ไม่ได้มีภูมิลำเนาอาศัยอยู่จริง ส่งผลทำให้ขาดพยานบุคคลในพื้นที่มาให้การรับรองและไม่ได้รับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอ อีกทั้งยังได้รับการจดแจ้งข้อมูลในทะเบียนประวัติที่ผิดพลาดส่งผลให้ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่สามารถนำมาเป็นหลักฐานอ้างอิงอื่นได้ ข้อเสนอแนะต่อประเด็นดังกล่าวคือ 1) ควรมีการสำรวจความพร้อมของผู้ปฏิบัติงานหรือสอบถามความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานต่อนโยบาย 2) ลดข้อจำกัดการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จำเป็น และ 3) ควรมีการทบทวนปรับเปลี่ยนคุณสมบัติหลักเกณฑ์อยู่เป็นประจำen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932010 นายพีระพงศ์ พุทธวงค์.pdfการค้นคว้าอิสระของนายพีระพงศ์ พุทธวงค์ รหัสนักศึกษา 6419320102.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.