Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78287
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | ธันย์ชนก ปิมปาอุด | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T09:54:52Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T09:54:52Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78287 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) The level of acceptance of digital technology in the performance of personnel in the Labour Court Region 5, 2) Factors affecting the acceptance of digital technology in the performance of personnel in the Labour Court Region 5, and 3) The role of people involved with digital technology affecting the acceptance of digital technology by personnel in the Labour Court Region 5. This is qualitative research methods which The main informants were 26 people who is a personnel in Labour Court Region 5. The subjects were personnel in the Labour Court Region 5, are 3 executives, 23 civil servants, civil servants and temporary workers. The research tool was a semi-structured interview. Data was collected by interviewing. The data were analyzed by content analysis and inductive inference analysis. The research results, The average digital technology acceptance level of personnel in the Labour Court Region 5, was in “Early Adopters” in other words, There is a medium level of acceptance of digital technology which factors that affect the acceptance level are individual factor which consists of factors perceived usefulness and factors perceived ease of technology, major organizational factors which consist of Strategic factors, style factor, skill factor and shared values factor, minor organizational factors which consists of structure factors, system factor and staff factor, role acceptance factors which consists of leader in role resource alligator, colleague in role liaison role and the technology practitioner digital in role auditor. For this reason, if he labour court region 5 want personnel to accept more digital technology it should be revised to provide more training in using digital technology skills and there is a duty of personnel to support the use of digital technology to be more clear as well. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การยอมรับเทคโนโลยี | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีดิจิทัล | en_US |
dc.subject | ศาลแรงงานภาค 5 | en_US |
dc.subject | Technology Acceptance | en_US |
dc.subject | Digital Technology | en_US |
dc.title | การยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากร ในศาลแรงงานภาค 5 | en_US |
dc.title.alternative | The Acceptance of digital technology for working practices of officers in the Labour Court Region 5 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยีสารสนเทศ | - |
thailis.controlvocab.thash | ศาล -- ข้าราชการและพนักงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ศาลแรงงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรในศาลแรงงานภาค 5 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรในศาลแรงงานภาค 5 และ 3) บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรในศาลแรงงานภาค 5 โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นบุคลากรในศาลแรงงานภาค 5 จำนวน 26 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า ระดับการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลเฉลี่ยของบุคลากรในศาลแรงงานภาค 5 อยู่ในกลุ่มยอมรับในช่วงแรก กล่าวคือ มีระดับการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลในระดับปานกลาง โดยปัจจัยที่มีผลต่อระดับการยอมรับได้แก่ ปัจจัยระดับปัจเจกบุคคล ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์และปัจจัยด้านการรับรู้ความง่ายของเทคโนโลยี ปัจจัยเชิงองค์กรที่เป็นปัจจัยหลัก ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านกลยุทธ์ ปัจจัยด้านรูปแบบ ปัจจัยด้านทักษะ และปัจจัยด้านค่านิยมร่วมองค์กร ปัจจัยเชิงองค์กรที่เป็นปัจจัยเสริม ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านโครงสร้าง ปัจจัยด้านระบบ และปัจจัยด้านจำนวนบุคลากร และบทบาทผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งประกอบด้วย บทบาทผู้จัดสรรทรัพยากรของผู้บังคับบัญชา บทบาทผู้ประสานงานของผู้ร่วมงาน และบทบาทผู้ตรวจสอบของผู้ปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยเห็นว่าหากศาลแรงงานภาค 5 ต้องการให้บุคลากรมีการยอมรับเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้นควรมีการแก้ไขให้มีการฝึกอบรมทักษะการใช้งานระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น และ มีการกำหนดหน้าที่ของบุคลากรด้านการสนับสนุนการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีความชัดเจนมากขึ้นเช่นกัน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641932029-ธันย์ชนกปิมปาอุด.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.