Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78281
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pakinee Ariya | - |
dc.contributor.author | Yuqi Zhou | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-03T01:13:08Z | - |
dc.date.available | 2023-07-03T01:13:08Z | - |
dc.date.issued | 2023-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78281 | - |
dc.description.abstract | Cross-border e-commerce has become a trade channel with high growth potential in China. It is urgent for Thai SMEs to seize the huge consumer market of CBEC in China. As the largest e-commerce platform in China, Taobao is undoubtedly the best platform to expand China's e-commerce market through Taobao. However, because many SME entrepreneurs in Thailand are not proficient in Chinese, they cannot sell products to China through Taobao B2C CBEC business. Due to the language barrier, they do not know how to use Taobao platform to export products to China, which will become the biggest problem. Therefore, this study attempts to analyze the business activities of Taobao sellers through value chain analysis, combined with the questionnaire survey to determine the important Taobao operation activities of Taobao sellers, and finally use knowledge engineering to create a knowledge model for these activities, so as to help Thai SME entrepreneurs overcome language barriers, better carry out Taobao operation, and realize the good wish of selling goods to Chinese consumers. According to the steps of value chain analysis, this study first divides the business activities of Taobao sellers into primary activities and support activities. In addition, each category is further divided. Finally get the activities of all Taobao sellers after the integrated value chain analysis. At next step, this research adopts the method of combining value chain analysis and questionnaire. Use the information of Taobao sellers' operation activities obtained from the value chain analysis to formulate a questionnaire, and solicit expert opinions through this questionnaire to determine which main activities have an impact on small and medium-sized Taobao sellers, as well as the importance level of each activity. This step can also further help follow-up research to design a helpful knowledge model based on these important Taobao operations. This study will systematically sort out and classify the keywords related to Taobao's operation activities using the taxonomy method and combined with the concept of TID (Task Inference Domain) of CommonKADs. This step will better help users to efficiently retrieve useful and accurate information. Based on the results of taxonomy and CommonKAD, this study has therefore created a knowledge model for Thailand Cross Border E-Commerce SME Entrepreneur: Knowledge Map and Knowledge Manual In the knowledge evaluation stage, After Action Review method is used to distribute the knowledge model to Thai SME entrepreneurs to evaluate the model in combination with the establishment of the knowledge model in the previous stage, so as to determine the satisfaction analysis of the model, and verify the applicability of the model. The research results show that the first stage is knowledge acquisition. This study combines the value chain analysis and questionnaire survey to obtain the expertise of experts, and then determines the important operation activities in Taobao platform through data analysis. The results show that the importance values of the main activities of Taobao operation from large to small are: marketing and sales>store creation>after- sales service>outbound logistics>inbound logistics. Finally, the researcher collected the operation steps and suggestions of these Taobao operations through extensive network survey. In the second stage of knowledge organization, this study systematically combed the acquired knowledge using classification. The researcher systematically sorted out the acquired knowledge by using classification, and obtained the initial knowledge map. In the third stage of knowledge model creation, firstly, the researcher used IOC method to verify the initial knowledge map. Second, according to IOC calculation results and knowledge engineering methods modified the initial knowledge map and completed the creation of the knowledge model, which is the final version of the complete Taobao operation manual and knowledge map for Thai SMEs entrepreneurs. In the fourth stage of knowledge verification, this research is based on the AAR evaluation results of Thai SMEs entrepreneurs, so as to determine the satisfaction analysis of the proposed knowledge model and verify the applicability of the model. The final result shows that this knowledge model is very consistent with the goal. This study provides new ideas and insights for the research of cross-border e- commerce knowledge management. The research shows that paying attention to knowledge management in the field of cross-border e-commerce between China and Thailand and creating appropriate knowledge models are crucial to breaking the language barrier of cross-border e-commerce, improving the profits of Thai SMEs and establishing sustainable competitive advantages. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | The Knowledge model of Chinese language for Chinese e-commerce platform of thai smes entrepreneur | en_US |
dc.title.alternative | ตัวแบบความรู้ภาษาจีนสําหรับแพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จีนสําหรับผู้ประกอบการไทยขนาดกลางและขนาดย่อม | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Electronic commerce | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Chinese language -- Usage | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Knowledge management | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Small business -- Thailand | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน ได้กลายมาเป็นช่องทางการซื้อขายแลกเปลี่ยนซึ่งมี ศักยภาพในการเติบโตสูง จึงเป็นเหตุให้ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในไทย (SMEs) ต้องเจาะตลาดผู้บริโภคขนาดใหญ่ผ่านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน (CBEC) ในประเทศจีน ด้วยขนาดของแพลตฟอร์มการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใหญ่ที่สุด เถาเป่า (Taobao) จึงเป็นแพลตฟอร์มที่ดีที่สุดในการขยายตลาดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศจีน อย่างไรก็ตามเนื่องจากผู้ประกอบการในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยส่วนมากมิได้มีความชำนาญในการใช้ภาษาจีน จึงไม่สามารถจำหน่ายสินค้าไปยังประเทศจีนผ่านเถาเป่าในรูปแบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนระหว่างผู้ค้าถึงลูกค้า (B2C) ได้ ด้วยข้อจำกัดทางภาษาดังกล่าว ผู้ประกอบการจึงไม่ทราบวิธีใช้งานแพลตฟอร์มเถาเป่าเพื่อส่งออกสินค้าไปยังประเทศจีน ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ใหญ่ที่สุด ด้วยเหตุนี้ การศึกษานี้จึงมุ่งเนั่นการวิเคราะห์กิจกรรมทางธุรกิจของผู้จำหน่ายสินค้าต่าง ๆในเถาเป่าผ่านการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ร่วมกับการสำรวจด้วยแบบสอบถามเพื่อเลือกกิจกรรมทางธุรกิจที่สำคัญซึ่งผู้จำหน่ายสินค้าในเถาเป่าใช้ในการดำเนินธุรกิจ จากนั้นจึงใช้วิศวกรรมความรู้ (Knowledge Engineering) ในการสร้างแม่แบบความรู้ (Knowledge Model) ให้ตรงกับกิจกรรมที่เลือกไว้เพื่อช่วยผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมก้าวข้ามข้อจำกัดทางภาษา สามารถใช้งานเถาเป่าได้ดีขึ้น และเล็งเห็นถึงข้อดีในการจำหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคชาวจีนด้วขขั้นตอนในการวิเคราะห์ห่วงใซ่คุณค่า การศึกษานี้ได้แบ่งกิจกรรมทางธุรกิจของผู้จำหน่ายสินค้าในเถาเป่าออกเป็นกิจกรรมหลัก (Pimary Activiies) และกิจกรรมรอง (Support Activities) และแบ่งกิจกรรมในแต่ละประเภทออกเป็นหมวดย่อยเพื่อวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าของกิจกรรมทั้งหมดของผู้จำหน่าขสินค้ในเถาเป่า ในขั้นตอนต่อมา การศึกษานี้ใช้วิธีวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าร่วมกับแบบสอบถาม จากนั้นจึงใช้ข้อมูลกิจกรรมของผู้จำหน่ายสินค้าในเถาเป่าที่ได้จากการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อสร้างแบบสอบถาม โดยรวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญผ่านแบบสอบถามดังกล่าวเพื่อสรุปว่ามีกิจกรรมหลักใดบ้างที่ส่งผลกระทบต่อผู้จำหน่ายสินค้าขนาดกลางและขนาดเล็กในเถาเป่า รวมถึงระดับความสำคัญของแต่ละกิจกรรม ขั้นตอนนี้จึงสามารถช่วยติดตามผลการศึกษาเพื่อออกแบบแม่แบบความรู้ที่มีประโยชน์ โดยมีฐานคิดจากกิจกรรมสำคัญดังกล่าว การศึกษานี้จัดเรียงและจัดกลุ่มคำสำคัญ (Keywords) ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมในเถาเป่าอย่าง เป็นระบบโดยใช้วิธีการจัดหมวดหมู่ (Taxonomy) ร่วมกับแนวคิด TID (Task Inference Domain) ของCommonKADs ซึ่งขั้นตอนนี้สามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโชชน์และเที่ยงตรงแก่ผู้ใช้ได้การศึกษานี้ใช้ผลจากการจัดหมวดหมู่และการใช้ CommonkADs ในการสร้างแผนที่ความรู้ (Knowledge Map) และคู่มือความรู้ (Knowledge Manual) สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยในการทำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน ในขั้นตอนการประเมินความรู้ได้นำวิธีการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (Atter Action Review) มาใช้ในการแจกจ่ายแม่แบบความรู้ไปยังผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในไทยเพื่อประเมินแม่แบบความรู้ร่วมกับการสร้างแม่แบบความรู้ในขั้นตอนก่อนหน้าเพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจในการใช้แม่แบบความรู้และเพื่อเป็นการยืนขันว่าแม่แบบความรู้นี้สามารถใช้งานได้จริง ผลการศึกษาพบว่าขั้นแรกคือแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) การศึกษานี้ผนวก การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าและการสำรวจด้วยแบบสอบถามเพื่อบันทึกความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นจึงเลือกกิจกรรมการใช้งานแพลตฟอร์มเถาเป่าที่สำคัญด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาที่ได้พบว่าคุณค่าของกิจกรรมหลักในการ ใช้งานแพลตฟอร์มเถาเป่าที่สำคัญจากมากไปน้อยได้แก่ การตลาดและการขาย (Marketing and Sales) การสร้างหน้าร้าน (Store Creation) บริการหลังการขาย(After-Sale Services) การกระจายสินค้าขาออก (Outbound Logistics) และการกระจายสินค้าขาเข้า(Imbound Logistics) ตามลำดับ จากนั้นผู้ศึกษาได้รวบรวมขั้นตอนการดำเนินการและคำแนะนำในการใช้งานเถาเป่าผ่านการสำรวจเพิ่มเติมจากเครือข่ายต่าง ๆ ในขั้นตอนการจัดการความรู้ (Knowledge Organization) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สอง การศึกษานี้ แบ่งความรู้ที่ได้ด้วยการจัดหมวดหมู่ (Classification) และสร้างแผนที่ความรู้ขั้นต้นขึ้นมาในขั้นตอนการสร้างความรู้ (Knowledge Creation) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาม ผู้ศึกษาใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC ในการรับรองแผนที่ความรู้ขั้นดันเป็นอย่างแรก จากนั้นจึงใช้ผลที่ได้จากการคำนวณค่าดัชนีความสอดคล้องร่วมกับวิศวกรรมความรู้ในการปรับปรุงแผนที่ความรู้ขั้นต้นและพัฒนาแม่แบบความรู้จนสำเร็จเป็นคู่มือการ ใช้งานเถาเป่าและแผนที่ความรู้ฉบับสมบูรณ์สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิงขนาดกลางและขนาดย่อมในไทย ในขั้นตอนการพิสูจน์ความรู้ (Knowledge Verification) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สี่ การศึกษานี้ใช้ผล การประเมินจากการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (AAR) ที่ได้จากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในไทยเพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจที่ได้รับจากการ ใช้แม่แบบความรู้ที่ผู้ศึกษานำเสนอและยืนยันว่าแม่แบบความรู้นี้สามารถใช้งานได้จริง ซึ่งผลการศึกษาที่ได้ในขั้นสุดท้ายสรุปได้ว่าแม่แบบความรู้ที่จัดทำขึ้นมาสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของการศึกษานี้ การศึกษานี้ได้ให้แนวความคิดและข้อมูลเชิงลึกใหม่สำหรับการศึกษาการจัดการความรู้ด้าน การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน การศึกษานี้ได้แสดงให้เห็นว่าการให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้ด้านการพาณิชย์อิล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศจีนและประเทศไทยและการสร้างแม่แบบความรู้ที่เหมาะสมมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการทลายข้อจำกัดด้านภาษาในการทำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนเพื่อสร้างกำไรให้แก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในไทยรวมถึงสร้างข้อได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS-Yuqi Zhou_632132027_with Watermark.pdf | 43.47 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.