Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78222
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | ปฏิพัษฌ์ สามแปง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T09:38:27Z | - |
dc.date.available | 2023-06-29T09:38:27Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78222 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study is 1) to study operational potential including problems and obstacles from operations 2) to study the roles and participation in the management of government agency the public sector and educational institutions that are involved in management; and 3) to study the development and rehabilitation guidelines. Wiang Bua ancient kiln site, Phayao province to be a sustainable community attraction. The researcher used a qualitative research method. and nonparticipant observation from Wiang Bua Community Product Group Community Leader-Ban Bua Community Member Executives working group of Mae Ka Subdistrict Municipality and professors from the University of Phayao, a total of 14 people The results shown that the ancient kiln site of Wiang Bua at present has the potential to operate with the readiness of the building to be used for preserving historical data, antiques, various crockery, including the building for the learning process of sculpture activities. earthenware as well as facilities to accommodate tourists or those interested as for the major problems and obstacles, it was found that the development of participation of local communities members do not yet see the value or benefit of tourism. The management of space is still an administrative problem which has resulted in not being able to operate at full capacity. Role in participation of government organizations and educational institutions in the area must be consistent with the community context and be more concrete. including encouraging and motivating people in the community to see the benefits and values of tourist attractions that exist within the community which must be strengthened to arise from within the community first in order for the community to develop the ancient kilns of Wiang Bua for sustainable development. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนของแหล่งเตาเผาโบราณเวียงบัว จังหวัดพะเยา | en_US |
dc.title.alternative | The Development of sustainable community-based tourism of Wieng Bua ancient pottery kiln, Phayao province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พะเยา -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | เตาเผาโบราณเวียงบัว | - |
thailis.controlvocab.thash | โบราณวัตถุ -- พะเยา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพรวมทั้งปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินงานในปัจจุบัน 2) เพื่อศึกษาบทบาทและการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาชนและสถาบันการศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการการพัฒนาและฟื้นฟู แหล่งเตาเผาโบราณเวียงบัว จังหวัดพะเยา ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนที่มีความยั่งยืน ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi - Structured Interview) และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Participant Observation) จากกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนคนเวียงบัว ผู้นำชุมชน -สมาชิกชุมชนบ้านบัวผู้บริหาร-คณะทำงานของเทศบาลตำบลแม่กา และอาจารย์ มหาวิทยาลัยพะเยา รวมจำนวน 14 คน ผลจากการศึกษาพบว่า แหล่งเตาเผาโบราณเวียงบัวในปัจจุบันมีศักยภาพในการดำเนินงานโดยความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ใช้เพื่อการเก็บรักษารวบรวมข้อมูลด้านประวัติศาสตร์โบราณวัตถุ เครื่องถ้วยชามต่าง ๆ รวมถึง อาคารในการใช้ทำกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้การปั้นเครื่องปั้นดินเผา ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกในการองรับนักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจ ในส่วนของปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญพบว่าด้านการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น สมาชิกในชุมชนยังไม่เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ที่ได้รับจากแหล่งท่องเที่ยว การบริหารจัดการด้านพื้นที่ยังคงเป็นปัญหาในเชิงจัดการซึ่งส่งผลให้เกิดดำเนินการยังทำไม่ได้อย่างเต็มที่ บทบาทในการเข้ามามีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐและสถาบันการศึกษาในพื้นที่ต้องให้ตรงกับบริบทชุมชนและมีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น รวมถึงการกระตุ้นสร้างแรงจูงใจให้คนในชุมชนให้มองเห็นถึงประโยชน์และคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่ภายในชุมชน ซึ่งต้องสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นจากภายในชุมชนเป็นสำคัญก่อน เพื่อให้ชุมชนสามารถพัฒนาแหล่งเตาผาโบราณเวียงบัวเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932030 ปฏิพัษฌ์ สามแปง.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.