Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78127
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T10:24:14Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T10:24:14Z | - |
dc.date.issued | 2023-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78127 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study the effects of the group counselling program based on brief cognitive behavioral therapy on 9-10 year-old children’s dental fear. This is a quasi-experimental research. The samples were selected by purposive random sampling from the dental fear scores greater than or equal to 38. There were a total of 24 subjects being sampled, where they were equally assigned to the experimental group and control group. The experimental group participated in the group counseling program based on brief cognitive behavioral therapy but the control group did not participate. The research instruments consisted of the group counselling program based on brief cognitive behavioral therapy and the children’s fear survey schedule-dental subscale (CFSS-DS). There were 3 phases of data collection including pretest, posttest and follow-up test which were completed in about four weeks. The data was analyzed for percentage, mean, standard deviation, independent t- test and one-way repeated measures ANOVA. The research findings were summarized as follows: 1) For the posttest period, the experimental group had the dental fear scores decreased from the pretest period with a statistically significant difference of p0.001. In addition, the dental fear scores for the follow-up period of the experimental group decreased more than the post-test period with a statistically significant difference of p0.05. 2) The children who participated in the group counseling program based on brief cognitive behavioral therapy had lower dental fear scores than the control group with a statistically significant difference of p0.001. In conclusion, the group counseling program based on brief cognitive behavioral therapy is found to be effective in decreasing child dental fear. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความกลัวการรักษาทางทันตกรรมในเด็ก | en_US |
dc.subject | การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้น | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิด การปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้นต่อความกลัว การรักษาทางทันตกรรม ในเด็กอายุ 9-10 ปี | en_US |
dc.title.alternative | Effects of group counselling program based on brief cognitive behavioral therapy on 9–10 year old children’s dental fear | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มสำหรับเด็ก | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็ก -- การให้คำปรึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | ทันตกรรมเด็ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้นต่อความกลัวการรักษาทางทันตกรรมในเด็ก อายุ 9-10 ปี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง มีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง จากคะแนนความกลัวการรักษาทางทันตกรรมที่มากกว่าหรือเท่ากับ 38 มีจำนวน 24 คน โดยเป็นกลุ่มทดลอง 12 คน และกลุ่มควบคุม 12 คน กลุ่มทดลองได้เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้น ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้เข้าร่วม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความกลัวการรักษาทางทันตกรรม (CFSS-DS) และโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้น การเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล ภายหลังการเสร็จสิ้นโปรแกรม 4 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-way repeated measures ANOVA) และการทดสอบที (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระยะหลังทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยความกลัวการรักษาทางทันตกรรม ต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.001) และพบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยความกลัวการรักษาทางทันตกรรมระยะติดตามผลต่ำกว่าระยะหลังทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) 2) เด็กเข้ารับโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้น มีคะแนนความกลัวลดลงต่ำกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.001) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า โปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวการปรับความคิดและพฤติกรรมระยะสั้นมีประสิทธิภาพ สามาถลดความกลัวการรักษาทางทันตกรรมในเด็กได้ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600132022-ศิรินาถ ชีวะเกรียงไกร.pdf | 6.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.