Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78116
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทฤษฎีคา หล่อ | - |
dc.contributor.advisor | เกศินี เกตุพยัคฆ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐวัฒน์ กระต่ายทอง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-22T10:49:38Z | - |
dc.date.available | 2023-06-22T10:49:38Z | - |
dc.date.issued | 2022-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78116 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this study were to apply a multiplex real-time polymerase chain reaction technique for estimating the sperm sex ratio of stallion semen and to test the performance and validate the technique with known DNA sample ratios. Firstly, fresh semen samples from five stallions were examined for semen quality by using a computer-assisted sperm analysis (CASA). The results revealed that the number of sperm cells, movement rate, and survival rate of sperm cells showed high quality, which could be tested for further experimentation. The present study was divided into two experiments. In experiment 1, a primer set that was specific to the PLP gene on the X chromosome and the SRY gene on the Y chromosome was designed, and the efficacy of each primer set was examined by using the PCR technique. Moreover, the performance of the specific primer and probe of the SRY gene and PLP gene was then confirmed by using singleplex real-time PCR technique and multiplex real-time PCR technique, respectively. In the real-time PCR method, the TaqMan probe specific to the SRY gene was labeled with the FAM fluorescent dye, and the PLP probe was labeled with the HEX fluorescent dye. The fluorescent signal of SRY gene (FAM) and PLP gene (HEX) were shown when tested with male peripheral white blood cells (XY). While female white blood cells (XX) illustrated only HEX signal. The SRY2 and PLP3 specific primers that were used in this study showed high efficiency when both of them were gathered into a single reaction. To construct the standard curve, the six concentrations of white blood cell DNA that were prepared in 5-fold dilutions from male horse lymphocytes were as follows: 1,000 ng/uL, 200 ng/uL, 40 ng/uL, 8 ng/uL, 1.6 ng/uL and 0.32 ng/uL. The straight-line slope values of SRY gene and PLP gene were calculated in the range of -3.47 and -3.56, respectively, representing the accuracy of quantification of the new amplicons at 93%. Meanwhile, the standard curve from plasmid DNA showed the straight-line slope of the SRY gene and PLP gene was in the range of -3.51 and -3.60, respectively, representing an accuracy of 91.5%. In experiment 2, the developed standard curves (white blood cell DNA and plasmid DNA) were used to calculate the sperm sex ratio with the following samples: 1) plasmid DNA with a known ratio, 2) DNA from horse lymphocytes with a known ratio, and 3) normal semen. It was found that the Y-spermatozoa in stallion semen (%Y) were accurate at 95% CI and the evaluation of sex ratio X : Y was tested by using the two-tailed paired t-test. The data revealed that the sperm sex ratio was not statistically significant (P > 0.05). Thus, this study concluded that the application of multiplex real-time polymerase chain reaction technique with male horse white blood cells DNA could be used to create a standard curve that reduced the cost and time-consuming when compared with plasmid DNA. Also, this application could be used as a standard method for determining the sperm sex ratio of stallion semen (quality control method) and verifying the accuracy of semen in the laboratory prior to artificial insemination in field trials. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์ในเวลาจริงสำหรับประเมินสัดส่วนเพศอสุจิในน้ำเชื้อพ่อม้า | en_US |
dc.title.alternative | Application of Multiplex Real-time Polymerase Chain Reaction Technique for Evaluating Sperm Sex-ratio in Stallion Semen | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | อสุจิ | - |
thailis.controlvocab.thash | ม้า -- การผสมเทียม | - |
thailis.controlvocab.thash | ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบมัลติเพล็กซ์ ในเวลาจริงสำหรับประเมินสัดส่วนเพศอสุจิในน้ำเชื้อพ่อม้า และเพื่อทดสอบประสิทธิภาพและ ความถูกต้องของเทคนิคดังกล่าวด้วยตัวอย่างดีเอ็นเอที่ทราบสัดส่วนเพศ เบื้องต้นทำการรีดเก็บ ตัวอย่างน้ำเชื้อของพ่อม้าจำนวน 5 ตัว นำมาตรวจสอบคุณภาพน้ำเชื้อด้วยเครื่อง Computer assisted sperm analysis (CASA) พบว่า ปริมาณซลล์อสุจิ อัตราการเคลื่อนไหว และอัตราการรอดชีวิตของ เซลล์อสุจิอยู่ในเกณฑ์ที่ดีสามารถนำไปทดสอบต่อได้ สำหรับการศึกษาครั้งนี้แบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 ทำการออกแบบไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะต่อยืน PLP บนโครโมโซม เอ็กซ์ของเพศเมีย และยืน SRY บนโครโมโซมวายของเพศผู้ โดยนำไปทดสอบประสิทธิภาพของ ไพรเมอร์แต่ละชุดด้วยเทคนิค PCR จากนั้นยืนยันประสิทธิภาพของชุดไพรเมอร์และโพรบด้วยเทคนิ singleplex real-time PCR (แบบแยกหลอด) และ multiplex real-time PCR (แบบรวมหลอด) ตามลำดับ ซึ่งในระบบ real-lime PCR ใช้ taqMan probe ที่มีความจำเพาะต่อยืน SRY ติดฉลากด้วยสีฟลูออเรส เซนต์ชนิด FAM และ โพรบที่มีความจำเพาะต่อยืน PLP ถูกติดฉลากด้วยสีฟลูออเรสเซนต์ชนิด HEX เมื่อทดสอบด้วยตัวอย่างดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ดขาวม้าเพศผู้ (XY) พบว่าเกิดสัญญาณสีฟลูออเรสเซนต์ ขึ้นทั้งสองสัญญาณ คือ FAM และ HEX และเมื่อทดสอบกับตัวอย่างดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ดเลือดขาวม้า เพศเมีย (XX) เกิดสัญญาณสีฟลูออเรสเซนต์สี HEX เพียงสัญญาณเดียว ทั้งนี้การทดสอบประสิทธิภาพ ไพรเมอร์ด้วยเทกนิค muliplex real-time PCR พบว่าชุดไพรเมอร์ SRY2 และ PLP3 มีประสิทธิภาพ ในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในระบบ mulipex ดีที่สุด จากนั้นจึงทำการสร้างกราฟมาตรฐานจากเซลล์ปริมาณดีเอ็นเอเฉลี่ยอยู่ที่ 93% โดยเปรียบเทียบกราฟมาตรฐานจากพลาสมิดดีเอ็นเอ โดยคำนวณได้ค่า ความชันของกราฟเส้นตรงของยีน SRY และยืน PLP อยู่ในช่วง -3.51 และ -3.60 ตามลำดับ คิดเป็นค่า ประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ที่ 9.5% สำหรับในการทดลองที่ 2 ได้นำกราฟมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นมาใช้ ประเมินสัดส่วนเพศด้วยตัวอย่าง ดังนี้ 1) พลาสมิดดีเอ็นเอที่ทราบสัดส่วนเพศ 2) ดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ด เลือดขาวม้าที่ทราบสัดส่วนเพศ และ 3) น้ำเชื้อม้าปกติ นำมาประเมินด้วยกราฟทั้งสองแบบ พบว่าการ คำนวณสัดส่วนอสุจิวายในน้ำเชื้อ (% Y) มีความถูกต้องที่ความเชื่อมั่น 95% CI โดยได้ค่าจากการ ประเมินสัดส่วนเพศ X:Y จากการทดสอบด้วยสถิติ two-tailed pared t-test มีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มี นัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) งานวิจัยนี้สรุปได้ว่าการประยุกต์ใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส แบบมัลติเพล็กซ์ในเวลาจริงโดยใช้ดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ดเลือดขาวจากม้าเพศผู้ นำมาสร้างเป็นกราฟ มาตรฐานได้ โดยมีประสิทธิภาพสำหรับการประเมินสัดส่วนเพศในน้ำเชื้อ ช่วยลดค่าใช้ง่ายเมื่อเทียบ กับการใช้พลาสมิดดีเอ็นเอในการสร้างกราฟมาตรฐาน สามารถพัฒนาเป็นวิธีมาตรฐานสำหรับ ตรวจสอบสัดส่วนเพศน้ำเชื้อพ่อม้า (quality control method) และยืนยันความถูกต้องของน้ำเชื้อกัด เพศในระดับห้องปฏิบัติการก่อนนำไปผสมเทียมได้ เม็ดเลือดขาวม้าเพศผู้ มีความเข้มข้นทั้งหมด 6 ระดับ ได้แก่ 1,000 ng/HL, 200 ng uL, 40 ng/WL, 8 ng/uL, 1.6 ng/ uL และ 0.32 ng/ uL ตามลำดับ โดยนำมาคำนวณหาค่าความชันของกราฟเส้นตรงของ ยีน SRY และยืน PLP พบว่าอยู่ในช่วง -3.47 และ 3.56 ตามลำดับ คิดเป็นค่าประสิทธิภาพในการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเฉลี่ยอยู่ที่ 93% โดยเปรียบเทียบกราฟมาตร ฐานจากพลาสมิดดีเอ็นเอ โดยคำนวณได้ค่า ความชันของกราฟเส้นตรงของยืน SRY และยืน PLP อยู่ในช่วง -3.51 และ -3.60 ตามลำดับ คิดเป็นค่า ประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ที่ 91.5% สำหรับในการทดลองที่ 2 ได้นำกราฟมาตร ฐานที่พัฒนาขึ้นมาใช้ ประเมินสัดส่วนเพศด้วยตัวอย่าง ดังนี้ 1) พลาสมิดดีเอ็นเอที่ทราบสัดส่วนเพศ 2) ดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ด เลือดขาวม้าที่ทราบสัดส่วนเพศ และ 3) น้ำเชื้อม้าปกติ นำมาประเมินด้วยกราฟทั้งสองแบบ พบว่าการ คำนวณสัดส่วนอสุจิวายในน้ำเชื้อ (% Y) มีความถูกต้องที่ความเชื่อมั่น 95% CI โดยได้ค่าจากการ ประเมินสัดส่วนเพศ X:Y จากการทดสอบด้วยสถิติ two-tailed pared t-test มีค่าแตกต่างกันอย่างไม่มี นัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) งานวิจัยนี้สรุปได้ว่าการประยุกต์ใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส แบบมัลติเพล็กซ์ในเวลาจริงโดยใช้ดีเอ็นเอจากเซลล์เม็ดเลือดขาวจากม้าเพศผู้ นำมาสร้างเป็นกราฟ มาตรฐานได้ โดยมีประสิทธิภาพสำหรับการประเมินสัดส่วนเพศในน้ำเชื้อ ช่วยลดค่ใช้จ่ายเมื่อเทียบ กับการใช้พลาสมิดดีเอ็นเอในการสร้างกราฟมาตรฐาน สามารถพัฒนาเป็นวิธีมาตรฐานสำหรับ ตรวจสอบสัดส่วนเพศน้ำเชื้อพ่อม้า (qualivy control method) และยืนยันความถูกต้องของน้ำเชื้อกัด เพศในระดับห้องปฏิบัติการก่อนนำไปผสมเทียมได้ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610831030 ณัฐวัฒน์ กระต่ายทอง.pdf | 5.56 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.