Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78085
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวีวรรณ แพทย์สมาน-
dc.contributor.authorอุทัยวรรณ สุนันตาen_US
dc.date.accessioned2023-06-20T10:36:26Z-
dc.date.available2023-06-20T10:36:26Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78085-
dc.description.abstractThe study of the Results of Policy Implementation Establishment of Sister-Cities of Chiang Rai Province. The objectives of this study were as follows; (1) to study the results of implementing sister-cities relation policy of Chiangrai Province, and (2) to know the problems and obstacles of the policy performance qualitative research method was used to collect data from two different resources including secondary data obtained from documentary study namely literature reviews, related concepts, theories, researches, as well as meeting minutes, articles on rules, regulations, policies, guidelines, manuals and principles concerning Chiangrai's sister-cities policy operations. The other resource was primary data obtained from in-depth interviews focused on the implementation of establishing sister-cities relations policy. 2 groups of key informants were interviewed with 5 executives and 14 subordinators. hang Mai University The results of the study revealed that the policy was really practical related to the National Development Framework and also agreed with the National Strategies and the National Economic and Social Development Plan, the sister-cities relations occurring at a province level by establishing the relations between Thailand's provinces and others countries' provinces or governmental sectors such as states, counties, and cities that shared the equal status with those of Thailand based on potential principles of dignity, benefits and sustainability of both sides. For long term concrete cooperation, the agreement for this matter was signed resulted in long term relations. Others factors contributed to sister-cities relations necessarily involved more similar aspects as geographical features connecting each other, ways of life, living conditions, arts and cultures, traditions, uniqueness as well as good relationship between both parties. According to the study evaluation results of the policy implementation, found that there was no longer progress and uncontinuous of the policy. The result found on the data on the implementation of concrete activities in accordance with the Memorandum of Understanding on the Establishment of Sister Cities Relations between Chiang Rai Provinces and Yunnan Province, People's Republic of China, which has been signed since 2000, the concrete cooperation between the two cities was the education sector that both sides agreed to exchange knowledge the Youth program between Chiang Rai and Yunnan by taking turns as the host and starting activities since 2015 onwards. As for the problems and obstacles of the study, the findings were as followers: (1) lack of cooperative planning on relation development between the two parties; (2) no specific budgets supported the policy operations. (3) a lack of coordination among state sectors responsible for determining the project activities; (4) a lack of systematic working mechanics on the project; and (5) a lack of building a general public perception among people in Chiangrai, not limited only to the government sector. As for the suggestions of implementation the policy, every relevant sectors should be made aware of the importance of their policy, of collaborative project and of joint project ownership. In addition, a particular work team should be formed in connection with the sister-cities abroad for a decision making together on the project planning and operating which had to be approved by both parties. Also, other recognized factors contributing to the project operations included personnel, budgets, tools, materials, and length of time. For successful operations, every related section had to be participated in working together systematically: joining evaluating the policy for improvement and development of continuous sister-cities relations.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการนำนโยบายการสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeThe Results of policy implementation establishment of Sister-Cities of Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการบริหารรัฐกิจ -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashนโยบายสาธารณะ -- เชียงราย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการนำน โยบายการสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัด เชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผล ตลอดจนปัญหา อุปสรรค ในการนำนโยบายการสร้าง ความสัมพันธ์เมืองพี่ เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัดเชียงราย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวม ข้อมูลใช้แหล่งข้อมูลในการศึกษา 2 ประเภท คือข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินนโยบายการสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัดเชียงราย และข้อมูล ปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) 2 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร จำนวน 5 คน และผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 14 คน ผลการศึกษาพบว่า นโยบายการสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้อง (Sister City) เป็นนโยบายที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีความเชื่อมโยงกับกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศและ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ในระดับ จังหวัด เกิดขึ้น โดยการสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดของไทย หรือหน่วยการปกครองของ ต่างประเทศ ที่มีฐานะเทียบเท่าจังห วัดของไทย เช่น มลรัฐ มณฑลนคร ฯลฯ และจำเป็นต้องมี ความคล้ายคลึงกันในด้านต่างๆ เช่น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ที่คล้ำยคลึงกันหรือลักยณะที่เป็นเอกลักษณ์ ตลอดจนการ มีสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างกัน ซึ่งทั้งสองฝ่ายมีศักยภาพในการร่วมมือกันอย่างเป็นรูปธรรมใน ระยะยาวโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักการความสมศักดิ์ศรี เป็นประโยชน์ และยั่งยืนสำหรับผลจาก การประเมินนโยบายการสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัดเชียงราย พบว่า ยังไม่ก้าวหน้าและขาดความต่อเนื่องของนโยบาย ดังจะเห็นได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์การดำเนิน ผลกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่ เมืองน้องระหว่างจังหวัดเชียงราย กับมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ได้ลงนามมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2543 เกิดความร่วมมือระหว่างสองเมืองขึ้นเป็นรูปธรรมเพียงด้านเดียว คือด้านการศึกษา ที่ทั้งสองฝ่ายตกลงให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างเยาวชนจังหวัดเชียงรายและเยาวชนมณฑล ยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยผลัดเปลี่ยน หมุนวียนกันเป็นเจ้าภาพและเริ่มดำเนินการ กิจกรรมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา สำหรับในส่วนของปัญหา อุปสรรค ในการนำนโยบาย การสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องไปปฏิบัติของจังหวัดเชียงราย พบว่า (1) ยังขาดการวางแผนใน การทำงานร่วมกันเกี่ยวกับการพัฒนาความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องของจังหวัดเชียงรายกับเมืองคู่ ความสัมพันธ์ต่างประเทศ (2) ยังไม่มีงบประมาณที่ใช้สนับสนุนการดำเนินความสัมพันธ์เมืองพี่ เมืองน้องโดยเฉพาะ (3) ขาดการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่ต้องรับผิดชอบ ร่วมกัน (4) ขาดกลไกในการทำงานสร้างความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องร่วมกันอย่างเป็นระบบ (5) ขาดการสร้างความรับรู้ในภาคประชาชน การรับรู้จำกัดอยู่เฉพาะหน่วยงานภาครัฐ ข้อเสนอแนะ คือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดเชียงรายควรตระหนักถึงความสำคัญของนโยบายให้ทุกฝ่ายรู้สึก ถึงความเป็นเจ้าของนโยบายร่วมกัน การร่วมตัดสินใจดำเนินการแผนงานโครงการและควรได้รับ ความเห็นชอบจากทั้งสองฝ่ายร่วมกัน โดยคำนึงถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดการนำนโยบายไปปฏิบัติ อาทิ บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์และระยะเวลาการดำเนินงาน การผลักดันให้ กระบวนการดำเนินงานประสบความสำเร็จจะต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เข้ามาทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยร่วมกันดำเนินการติดตาม และประเมินผลน โยบายเพื่อนำไป ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการดำเนินความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932061 อุทัยวรรณ สุนันตา.pdf20.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.