Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78067
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกันต์สินี กันทะวงศ์วาร-
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์-
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ทองสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2023-06-17T03:18:00Z-
dc.date.available2023-06-17T03:18:00Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78067-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to evaluate the efficiency of cut flowers Production and to explore factors influencing the technical inefficiency of cut flower in Mae Rim District, Chiang Mai Province. A sample of 60 cut flower farmers. and measured technical production efficiency used stochastic production frontier analysis with Cobb – Douglas and estimation used maximum likelihood (MLE). The result of the estimation of cut flower production equations showed that the explanatory variables of production equation was statistically significant included the labor used in production, the amount of fertilizer and the amount of pesticide use. The results of the study of production technical efficiency showed that the technical efficiency in the production of cut flowers in Mae Rim District Chiang Mai Province from a total of 60 samples, the concentration of technical efficiency levels was very high. which has an efficiency value greater than 0.91 representing 61.67 percent the concentration of technical efficiency levels was high range, between 0.86 - 0.90 representing 30.00 percent and the concentration of technical efficiency levels was medium range, is lower than 0.85, representing 8.33 percent. This indicates that most farmers in the area already have a relatively high level of productivity. However, there are some farmers whose production efficiency is still moderate. Therefore, farmers or related agencies should plan the use of various inputs appropriate to the size of the production unit. Because some production units may use too many factors of production. May result in problems with the production of cut flowers as well. The results of the study of factors affecting production inefficiency, it was found that the age of farmers and farmers experience in planting cut flowers. It was a statistically significant factor explaining the inefficiency of production. While the problems or obstacles in the production of cut flower farmers are farmers experiencing high production costs, diseases, insects and pests, and marketing problems. lack of source of purchase and the selling price dropped As for the assistance that farmers need, they want related agencies from both the public and private sectors to provide knowledge about the production of flowering plants, the management of diseases, insects and pests, the making of organic fertilizers and pesticides, etc.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประสิทธิภาพทางเทคนิคen_US
dc.subjectไม้ตัดดอกen_US
dc.subjectอำเภอแม่ริมen_US
dc.subjectจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไม้ตัดดอกในพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Analysis of technical efficiency of cut flowers production in Mae Rim District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashไม้ตัดดอก-
thailis.controlvocab.thashไม้ตัดดอก -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashไม้ตัดดอก -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมไม้ตัดดอก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการผลิตไม้ตัดดอก และเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของไม้ตัดดอก ในพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โดยการเลือกตัวอย่างเกษตรกรผู้ผลิตไม้ตัดดอก จำนวน 60 ราย และวัดประสิทธิภาพด้วยวิธี Stochastic Production Frontier ผ่านฟังก์ชันการผลิตแบบ Cobb – Douglas และใช้หลักการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธี Maximum Likelihood ( MLE ) ผลการประมาณสมการการผลิตไม้ตัดดอก พบว่า ตัวแปรที่สามารถอธิบายสมการการผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ แรงงงานที่ใช้ในการผลิต ปริมาณปุ๋ย และปริมาณการใช้ยาฆ่าแมลง ผลการศึกษาระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิคการผลิตไม้ตัดดอก ในพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จากเกษตรกรตัวอย่าง 60 ราย พบว่า ร้อยละ 61.67 ของเกษตรกรตัวอย่างทั้งหมดมีประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในการผลิตไม้ตัดดอกอยู่ในระดับสูงมาก คือ มีค่าประสิทธิภาพมากกว่า 0.91 ในขณะที่ร้อยละ 30.00 ของเกษตรกรตัวอย่างทั้งหมดมีประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในการผลิตไม้ตัดดอกอยู่ในระดับสูง คือ มีค่าประสิทธิภาพระหว่าง 0.86 – 0.90 และร้อยละ 8.33 ของเกษตรกรตัวอย่างทั้งหมดมีประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในการผลิตไม้ตัดดอกอยู่ในระดับปานกลาง คือ มีค่าประสิทธิภาพต่ำกว่า 0.85แสดงให้เห็นว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่จะมีระดับประสิทธิภาพการผลิตที่ค่อนข้างสูงมากอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีเกษตรกรบางหน่วยผลิตที่ยังคงมีประสิทธิภาพการผลิตอยู่ในระดับปานกลาง ดังนั้น เกษตรกรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาวางแผนการใช้ปัจจัยผลิตต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับขนาดของหน่วยผลิต เนื่องจากบางหน่วยผลิตก็อาจจะใช้ปัจจัยการผลิตที่มากเกินไป ซึ่งอาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาการผลิตไม้ตัดดอกตามมาได้เช่นกัน สำหรับผลการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความไม่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไม้ตัดดอก พบว่า อายุของเกษตรกร และประสบการณ์การปลูกไม้ตัดดอกของเกษตรกร เป็นปัจจัยที่อธิบายความไม่มีประสิทธิภาพการผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ปัญหาหรืออุปสรรคในการผลิตของเกษตรกรผู้ผลิตไม้ตัดดอก คือ เกษตรกรประสบปัญหาด้านต้นทุนการผลิตสูง ปัญหาด้านโรค แมลง และศัตรูพืช และปัญหาด้านการตลาด การขาดแหล่งการรับซื้อ และราคาขายลดลง ในส่วนของความช่วยเหลือที่เกษตรกรต้องการ คือ ต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวทั้งภาครัฐและเอกชนมาให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตไม้ดอก การจัดการโรค แมลง และศัตรูพืช การทำปุ๋ยอินทรีย์และยาฆ่าแมลง เป็นต้นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621632009 ศิริรัตน์ ทองสุวรรณ.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.