Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | สุภานันท์ ปัญญาทิพย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T10:34:21Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T10:34:21Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78034 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are: 1. To study the process of resource management in the area of the Longkhod Model projects; 2. To analyze the roles of stakeholders involved in the Longkhod Model projects since the project's inception Longkhod model to date 3. To study the factors affecting the natural resource management process in the area. Use the interview form as a research tool. Key informants are: Villagers in the community, monks, community leaders, local government organizations Sri Lanna National Park and former community leaders and former heads of government agencies in the area who participated in the management of natural resources in the area, 79 cases. The results showed that Longkhod Model Projects, it arises as a result of the problems facing the Longkhod community in the past due to the deforestation and encroachment of man-made forests causing physical changes. For solutions to problems in the initial stage of the Longkhod Model project do adopts the theory of development according to the royal initiative of His Majesty King Bhumibol Adulyadej Maha Bhumibol Adulyadej the Great, Borommanatbophit, King Rama IX began with understanding, accessing, developing, and his Majesty's royal commands, preserving, inheriting, and continuing according to the wishes of King Rama 10 as the main mechanism for solving disasters through network partners which plays a role in the natural resource management process with participation, namely: 1. Management that focuses on equal distribution of access and sharing of benefits from natural resources 2. There are activities, agreements, rules or rules in the community in jointly managing natural resources 3. Support surveillance and monitoring of changes in ecosystems in the area; 4. Public relations for information; and 5. Raising awareness and awareness of natural resource conservation. Factors affecting the natural resource management process in the area include: 1. Management 2. Activities, agreements, rules or rules in the community. 3. Support for monitoring and monitoring changes in ecosystem status in the area 4. Public relations and 5. Raising awareness among communities. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การร่วมกันบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใต้โครงการ โหล่งขอดโมเดล ตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Collaborative management of natural resource under Longkhod Model Projects, Longkhod Subdistrict, Phrao District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โครงการโหล่งขอดโมเดล | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ -- พร้าว(เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | ทรัพยากรธรรมชาติ -- พร้าว(เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารรัฐกิจ -- พร้าว(เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการสาธารณะ -- พร้าว(เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในกรวิจัยได้แก่ 1. เพื่อศึกษากระบวนการร่วมกันบริหาร จัดการทรัพยากรในพื้นที่ของโครงการโหล่งขอดโมเดล 2. เพื่อวิเคราะห์บทบาทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ เกี่ยวข้องต่อโครงการโหล่งขอดโมเคลตั้งแต่เริ่มก่อตั้งโครงการโหล่งขอดโมเคลจนถึงปัจจุบัน 3. เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการร่วมกันบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ ชาวบ้านในชุมชน พระสงฆ์ ผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล อุทยานแห่งชาติศรีลานนา และอดีตผู้นำชุมชนและอดีตหัวหน้าหน่วยงาน ภาครัฐในพื้นที่ จำนวน 79 ราย ผลการวิจัยพบว่า โกรงการไหล่งขอดโมเคล ได้น้อมนำทฤษฎีการ พัฒนา ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอคุยเคชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และพระปฐมบรมราชโองการ รักษา สืบสาน ต่อยอดตามพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10 เป็นกลไกหลัก โดยกระบวนบริหารทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม ได้แก่ 1) การ สำรวจสภาพปัญหา 2) การวางแผนการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน 3) การใช้กติกาในการจัดการทรัพยากร ร่วมของชุมชน 4) การจัดการและการพัฒนาปรับปรุงในการดำเนินการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สำหรับบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย 1) พระสงฆ์ มีบทบาทในฐานะเป็นผู้ผลักคัน และเป็นจุดศูนย์รวมจัดตั้งเป็นกลุ่มกาคีเครือข่าย 2) ผู้นำชุมชน มีบทบาทในการสร้างกระบวนการมี ส่วนร่วม ประสานงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามรับข้อมูลข่าวสาร และสร้างความเข้าใจ ให้กับชาวบ้าน 3) ชาวบ้านในชุมชน มีบทบาทในการมีส่วนร่วมคิดพิจรณากำหนดทางเลือกในการ แก้ปัญหา ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ และร่วมรับผลประโยชน์ 4) องค์การบริหารส่วนตำบล มีบทบาท การบริหารจัดการและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่ วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มอื่นๆ 5) อุทยาน แห่งชาติศรีลานนา มีบทบาทในการวิเคราะห์ชุมชนการนำเสนอการสร้างกติกา และถ่ายทอดให้กับชุมชน 6) อดีตผู้นำชุมชนและอดีตหัวหน้าหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ สนับสนุน และเตรียมความพร้อม กับหน่วยงานต่าง ๆ สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ประกอบด้วย 1. การบริหารจัดการ 2. การทำกิจกรรม ช้อตกลง กฎ หรือกติกาในชุมชน 3.การสนับสนุน การเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของระบบนิเวศในพื้นที่ 4. การประชาสัมพันธ์ และ 5. การสร้างจิตสำนึกให้กับชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932053 สุภานันท์ ปัญญาทิพย์.pdf | 2.23 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.