Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78020
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรอนงค์ วิชัยคำ | - |
dc.contributor.advisor | กุลวดี อภิชาตบุตร | - |
dc.contributor.author | บุษราพรรณ ยศชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T07:47:20Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T07:47:20Z | - |
dc.date.issued | 2021-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78020 | - |
dc.description.abstract | Caring is a fundamental and essential element of professional nursing. This descriptive study aimed to study caring behaviors of nurses and guidelines to improve nurses’ caring behaviors as perceived by clients. The sample consisted of 391 patients admitted to the private medical center based at university hospital. The study instrument used was The Caring Behaviors of Nurses Questionnaire developed by the researcher based on Roach (2002). The content validity of the questionnaire was examined by 5 experts and had a content validity index of .80 and a reliability of .94. Data were analyzed using descriptive statistics. The study found the following: 1. Clients perceived a high level of caring behavior from nurses ( ̅=79.77, SD=2.21) and with regards to each component of caring behavior, the average score of all components was at a high level of all components comportment had the highest score ( ̅=14.03, SD=1.76) awhile competence had the lowest score ( ̅=12.51, SD=2.52). 2. The guidelines to improve caring behaviors of nurses were: 1) increasing or preparing knowledge of caring behaviors; 2) improving personality and responsibility; 3) having professional standards and providing holistic care; 4) providing good modeling; 5) selecting good and suitable personnel; 6) promoting-compliance with professional codes of ethics. The results of this study can be used as primary information for nurse administrators-to improve nurses’ caring behaviors for improved quality of nursing care and client’ satisfaction. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Caring behaviors | en_US |
dc.title | พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง | en_US |
dc.title.alternative | Caring behaviors of nurses as perceived by clients in a University Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ป่วย -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | การพยาบาลผู้ป่วย | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการการพยาบาล | - |
thailis.controlvocab.thash | การส่งเสริมสุขภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การดูแลแบบเอื้ออาทรเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่เป็นหัวใจสำคัญและเป็นกิจกรรมที่แสดงถึงความเป็นวิชาชีพของพยาบาล การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลและแนวทางในการพัฒนาพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการในแผนกผู้ป่าชพิเศษโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจำนวน 391 คน ที่เข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยพิเศษ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลที่วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดของโรช (2002) แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาเท่ากับ 80 และค่าเชื่อมั่นเท่ากับ 94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิดิเชิงบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า 1. พฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการโดยรวมอยู่ในระดับสูง (X =79.77, SD-=2.21) และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าพฤติกรรมการดูและแบบเอื้ออาทรของพยาบาลทุกค้านมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง โดยคะแนนด้านการแสดงออกอย่างเหมาะสมมีคะแนนสูงที่สุด (X-14.03,SD-1.76) และด้านความสามารถและสมรรถนะมีคะแนนต่ำที่สุด(x=12.51,SD=2.52) 2. ความคิดเห็นของผู้รับบริการต่อการปรับปรุงพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลได้แก่ 1 การเพิ่มหรือเตรียมความพร้อมด้านความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทร 2) การพัฒนาบุคลิกภาพและความรับผิดชอบ 3) การมีมาตรฐานวิชาชีพและการดูแลแบบองค์รวม 4) การมีตัวแบบที่ดี 5)การคัดเลือกบุคลากรที่ดีและเหมาะสมและ 6) การส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการศึกษานี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานให้ผู้บริหารทางการพยาบาลเพื่อใช้ในการพัฒนาพฤติกรรมการดูแลแบบเอื้ออาทรของพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาลและความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
601231025 บุษราพรรณ ยศชัย.pdf | 8.04 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.