Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77935
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรวุฒน์ พงษ์ศิริเวทย์-
dc.contributor.advisorจิตจิโรจน์ อิทธิชัยเจริญ-
dc.contributor.advisorกันยารัตน์ คอวนิช-
dc.contributor.authorมลภิรา กะแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-12-18T04:24:10Z-
dc.date.available2022-12-18T04:24:10Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77935-
dc.description.abstractHypertension is a systemic disease that is often found in the older adults. These patients are treated with antihypertensive medications, which cause dry mouth. The objective of this research is to investigate the relation between antihypertensive medications and oral dryness in the older adults in Muang Tak district, Tak province. 164 older adults patients from Somdejphrajaotaksin Maharaj hospital, Muang Tak community health center, and Sub-district Health Promoting Hospital in Muang Tak district who either had antihypertensive drug treatment or not were included. Demographic data, duration, amount, and type of medication received were recorded. Dry mouth was evaluated by visual analogue score, clinical oral dryness score, and unstimulated salivary flow rate. There was a significant increase in visual analogue score and clinical oral dryness score, decrease in unstimulated salivary flow rate in the patient received antihypertensive drugs, compared with the patient who did not. Moreover, there was no significant difference among the patients treated with either one type of hypertensive drugs or combined drugs treatment. Antihypertensive medication can lowered the salivary flow rate that caused dry mouth in hypertensive older adults in Muang Tak district, Tak province.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectantihypertensive medicationen_US
dc.subjectdry mouthen_US
dc.subjecthypertensionen_US
dc.subjectunstimulated salivary flow rateen_US
dc.subjectolder adulten_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะปากแห้งกับยาที่ใช้ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativeThe Relationship Between Dry Mouth and Antihypertensive Medications Used in the Older Adults in Muang Tak District, Tak provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูง-
thailis.controlvocab.thashการใช้ยา-
thailis.controlvocab.thashยา -- ผลข้างเคียง-
thailis.controlvocab.thashปากแห้ง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคทางระบบที่พบได้มากในผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาความดันโลหิตสูงสามารถพบภาวะปากแห้งได้ การศึกษานี้ต้องการการศึกษาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการใช้ยารักษาความดันโลหิตสูงกับภาวะปากแห้งในผู้ป่วยที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก มีผู้เข้าร่วมในการศึกษานี้ 164 ราย เป็นผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง รับการรักษาที่โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองตาก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตอำเภอเมืองตาก ได้รับยารักษาความดันโลหิตสูงโดยไม่ได้รับยารักษาโรคร่วมอื่น และผู้สูงอายุที่ไม่ได้รับยาใดเลย ผู้เข้าร่วมจะได้รับข้อมูลและให้ความยินยอมเข้าร่วมการศึกษา ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมการศึกษาและข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยา ระยะเวลาการใช้ยา จำนวนชนิดยาที่ได้ และชนิดของยาที่ได้รับจะถูกบันทึก ระดับความดันโลหิตของผู้เข้าร่วมการศึกษาจะได้รับการตรวจบันทึกและแบ่งระดับ พารามิเตอร์ที่วัดระดับปากแห้งทั้งระดับความรู้สึกปากแห้ง ระดับปากแห้งทางคลินิก และอัตราการหลั่งน้ำลายระยะไม่ถูกกระตุ้นจะถูกเก็บบันทึกและวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าระยะเวลาการใช้ยา และจำนวนชนิดยาที่ได้รับไม่มีผลต่อภาวะปากแห้ง กลุ่มผู้เข้าร่วมการศึกษาที่รับยาอย่างน้อย 1 ชนิดพบภาวะปากแห้ง กลุ่มที่รับยาแอมโลดิปีนร่วมกับโลซาร์แทนมีความรู้สึกปากแห้งเพิ่มขึ้น กลุ่มที่รับยาแอมโลดิปีน โลซาร์แทน และอีนาลาพริลอย่างน้อย 1 ชนิดมีระดับปากแห้งทางคลินิกเพิ่มขึ้น และกลุ่มที่ได้รับยาแอมโลดิปีน และอีนาลาพริลอย่างใดอย่างหนึ่งหรือรับร่วมกันมีอัตราการหลั่งน้ำลายระยะไม่ถูกกระตุ้นลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับยา จากการศึกษาสรุปว่า การรับยารักษาโรคความดันโลหิตสูงทำให้เกิดภาวะปากแห้งในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในเขตอำเภอเมืองตาก จังหวัดตากen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931047 มลภิรา กะแก้ว.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.