Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77934
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะมาศ ใจไฝ่ | - |
dc.contributor.author | ศิริพันธ์ โสภารัตนากูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-12-18T04:19:17Z | - |
dc.date.available | 2022-12-18T04:19:17Z | - |
dc.date.issued | 2022-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77934 | - |
dc.description.abstract | The study of ‘Purpose of Music: A Philosophical Reflection on Schopenhauer and the Vedanta’ is a documentary research that attempt to first, research the notion of music on Schopenhauer and Vedanta. Second, analyze the purpose of music. The study discovered that Schopenhauer and Vedanta both propose that music can connect to metaphysical truth. According to Schopenhauer, music is instrumental music without words that can express itself as absolute music through universal language. Thus, through musical components, music can directly express the will. On the other hand, music in Vedanta is the same as Brahman, who creates things through soundless vibration and uses sound vibrations as a tool for religious ceremonies. In order to reach God or religious truth. The purpose of music according to Schopenhauer and Vedanta has two levels. First, the internal purpose is to reflect the nature of the Will and Brahman. The second, external purpose is to be a tool that leads the audience to abandon themselves and enter an unconscious meditation in order to discover the truth. Through aesthetic contemplation and santarasa. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | เป้าประสงค์ของดนตรี: บทสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์และเวทานตะ | en_US |
dc.title.alternative | Purpose of music: a philosophical reflection on Schopenhauer and the Vedanta | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ดนตรี | - |
thailis.controlvocab.thash | โชเปนฮาวเออร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | เวทานตะ | - |
thailis.controlvocab.thash | ปรัชญา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์เรื่อง เป้าประสงค์ของดนตรี: บทสะท้อนแนวคิดทางปรัชญาในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์และเวทานตะ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องดนตรีในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์และเวทานตะ 2) เพื่อวิเคราะห์เป้าประสงค์ของดนตรีในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์และเวทานตะ งานวิจัยฉบับนี้ใช้วิธีดำเนินการวิจัยเชิงเอกสาร จากการศึกษาพบว่า โชเปนฮาวเออร์และปรัชญาเวทานตะมองว่า ดนตรีเชื่อมโยงต่อความจริงเชิงอภิปรัชญา โดยดนตรีในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์เป็นดนตรีบรรเลงไร้เนื้อร้องแสดงออกอย่างเป็นสากลเฉกเช่นดนตรีบริสุทธิ์ ซึ่งสามารถเผยเจตจำนงได้โดยตรงผ่านองค์ประกอบทางดนตรี ส่วนดนตรีในปรัชญาเวทานตะมีลักษณะเช่นเดียวกับพรหม คือก่อให้เกิดสรรพสิ่งจากเสียงการสั่นสะเทือนทั้งเสียงที่ไม่อาจได้ยินด้วยหูและเสียงที่ได้ยินด้วยหู ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อเป้าหมายในการเข้าถึงพระเจ้าหรือความจริงสูงสุดทางศาสนาด้วย เป้าประสงค์ของดนตรีในทัศนะโชเปนฮาวเออร์และเวทานตะมี 2 ระดับ ได้แก่ เป้าประสงค์ในตัวเอง คือการเป็นกระจกสะท้อนลักษณะหรือธรรมชาติของความจริงสูงสุด และเป้าประสงค์นอกตัวเอง คือการเป็นเครื่องมือนำผู้ฟังเข้าสู่สภาวะจิตที่เป็นสมาธิผ่านกระบวนการของสุนทรียปัสนาการและศานติรส เพื่อเข้าถึงความจริงสูงสุดโดยปราศจากสำนึกแห่งตัวตน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630131007_Siriphan_Soparattanakoon.pdf | 3.16 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.