Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทศพล มูลมณี-
dc.contributor.advisorจุฬากร ปานะถึก-
dc.contributor.authorวริษฐา อุกฤษen_US
dc.date.accessioned2022-11-10T18:50:34Z-
dc.date.available2022-11-10T18:50:34Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77852-
dc.description.abstractThe short-term progesterone (P4)-gonadotropin releasing hormone (GnRH)-prostaglandin F2α (PGF2α)-based synchronization and fixed-time artificial insemination (FTAI) protocol has been widely applied in beef cattle farm for reproductive management; therefore, an increase in the efficiency of ovulation synchronization with pregnant mare serum gonadotropin (PMSG) treatment may improve ovarian follicular growth and fertility in beef cows. The aim of this study was to evaluate the effect of PMSG treatment given during 7-day P4-GnRH-PGF2α-based synchronization protocol on ovarian follicular dynamics, estrous rate, and pregnancy rate in beef cows. In experiment 1, 30 cows were randomized into 3 groups. Control group (n=10), cows were received controlled internal drug release device (CIDR) insert for 7 days (Day 0 to Day 7) concurrent with first injection of GnRH. On the day of CIDR removal (Day 7), cows were received PGF-a and cows received second injection of GnRH at Day9. PMSG3 group (n=10), cows were received CIDR insert for 7 days (Day 0 to Day 7) concurrent with first injection of GnRH. Three day later (Day 3), cows received 400IU of PMSG. On the day of CIDR removal (Day 7), cows were received PGF-a and cows received second injection of GnRH at Day9. PMSG4 group (n=10), cows were received CIDR insert for 7 days (Day 0 to Day 7) concurrent with first injection of GnRH. Four day later (Day 4), cows received 400IU of PMSG. On the day of CIDR removal (Day 7), cows were received PGF2α and cows received second injection of GnRH at Day9. The growth and ovulation of ovarian dominant follicle (DF) was evaluated by transrectal ultrasound scanning. Blood samples were collected from each cow to analyze plasma P4 concentrations. In experiment 2, 256 cows were divided into two groups: control group (n=151) and synchronization group (n=105). Cows in the control group that did not receive the hormonal synchronization protocol were inseminated upon detection of estrus. Cows in the synchronization group that received the effective synchronization protocol from experiment 1 were inseminated with FTAI on day 9. All inseminated cows were diagnosed as pregnant on day 30 post-insemination. In results of experiment 1, ovulation rate was greatest in the PMSG4 group (90.0%) compared with the control group (40.0%) but was not different when compared with the PMSG3 (70.0%; P < 0.05). Cows in the PMSG3 and PMSG4 groups had a greater DF growth rate from the day of follicular wave emergence to the day of ovulation (1.31 ± 0.08 and 1.38 ± 0.13 mm/day), compared with cows that did not receive PMSG treatment (0.71 ± 0.08 mm/day; P < 0.05). The diameter of DF at ovulation was larger (P < 0.05) in cows that received PMSG on days 3 and 4 (13.73 ± 0.67 and 14.01 ± 0.67 mm) than cows that did not receive PMSG (9.83 ± 0.46 mm). The plasma P, concentrations during CIDR insert (> 1.00 ng/ml) and after CIDR removal (< 1.00 ng/ml) did not differ among treatment groups (P > 0.05). In results of experiment 2, cows that exhibited natural estrus and AI had greater (P <0.05) pregnancy rates, compared with cows that synchronized ovulation and FTAI (45.7 vs. 33.3%). In conclusion, these results highlighted a beneficial efiect of PMSG treatment during 7-day P4-GnRH-PGF2α -based synchronization protocol not only on ovarian follicular growth but also on the retumn to estrous rate in beef cows submitted to the FTAI protocol.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบความสมบูรณ์พันธุ์ในแม่โคเนื้อที่ได้รับโปรแกรมฮอร์โมนระยะสั้นเพื่อกำหนดเวลาการผสมเทียมen_US
dc.title.alternativeComparison of fertility in beef cows receiving short-term hormonal programs for fixed-time artificial inseminationen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโคเนื้อ – การสืบพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashโคเนื้อ -- การผสมเทียม-
thailis.controlvocab.thashการสืบพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashการผสมเทียม-
thailis.controlvocab.thashการตกไข่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่โดยไช้ฮอร์โมน progesterone (P4) ฮอร์โมน gonadotropin releasing hormone (GnRH) และฮอร์โมน prostaglandin F2α (PGF2α) เป็นฮอร์โมนพื้นฐานแบบระยะ สั้น (7 วัน) และกำหนดเวลาการผสมเทียม (fixed-time artificial insemination (FTAI) ได้ถูก ประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในฟาร์มโคเนื้อเพื่อใช้ในการจัดการการสืบพันธุ์ ดังนั้นการเพิ่ม ประสิทธิภาพของโปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่ด้วยฮอร์โมน pregnant mare serum gonadotropin (PMSG) อาจช่วยเพื่มการเจริญเติบโดของฟอสลิเคิลบนรังไข่และความสมบูรณ์พันธุ์ในแม่โคเนื้อ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการให้ฮอร์โมน PMSG ใบระหว่างการ ได้รับโปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α ต่อการเปลี่ยนแปลงของฟอลลิเคิลบนรังไข่ อัตราการเป็นสัด และอัตราการตั้งท้องในแม่โคเนื้อ การทดลองที่ 1 แม่โคเนื้อจำนวน 30 ตัว ถูกสุ่มเข้าสู่ 3 กลุ่มการ ทดลองคือ กลุ่มควบคุม (n=10) แม่โคเนื้อได้รับการสอดแท่ง controlled internal drug release (CIDR) เข้าสู่ช่องคลอดเป็นเวลา 7 วัน (วันที่ 0 ถึง วันที่ 7) พร้อมกับการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 วันที่ทำ การถอนแห่ง CIDR ออกจากช่องคลอด (วันที่ 7) แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน PGF2α จากนั้นวันที่ 9 แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 2 กลุ่ม PMSG3 (n=10) แม่โคเนื้อได้รับการสอดแห่ง CIDR เข้าสู่ช่องคลอดเป็นเวลา 7 วัน (วันที่ 0 ถึง วันที่ 7) พร้อมกับการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 จากนั้น 3 วัน (วันที่ 3) แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน PMSG และวันที่ทำการถอนแห่ง CIDR ออก จากช่องคลอด (วันที่ 7)แม่โคเนื้อไห้รับการถฉีดฮอร์โมน PGF2α จากนั้นวันที่ 9 แม่โคเนื้อได้รับการฉีด ฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 2 และกลุ่ม PMSG4 (n=10) แม่โคเนื้อได้รับการสอดแห่ง CIDR เข้าสู่ช่อง คลอดเป็นเวลา 7 วัน (วันที่ 0 ถึง วันที่ 7) พร้อมกับการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้งที่ 1 จากนั้น 4 วัน (วันที่ 4) แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน PMSG และวันที่ทำการถอนแท่ง CIDR ออกจากช่องคลอค (วันที่ 7) แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน PGF2α จากนั้นวันที่ 9 แม่โคเนื้อได้รับการฉีดฮอร์โมน GnRH ครั้ง ที่ 2 การเจริญเติบโดและการตกไข่ของฟอลลิเคิลเด่น (dominant follicle [DF]) บนรังไข่ ถูกประเมิน โดยการอัลตร้าชาวด์รังไข่ผ่านทวารหนัก ตัวอย่างเลือดถูกเก็บจากแม่โคเนื้อแต่ละตัวเพื่อวิเคราะห์หา ความเข้มขันของฮอร์โมน P4 การทคลองที่ 2 แม่โคเนื้อจำนวน 256 ตัว ถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มการทดลอง คือ กลุ่มควบคุม (n=151) และ กลุ่มเหนี่ยวนำการตกไข่ (n=105) โดยแม่โคเนื้อในกลุ่มควบคุมซึ่งไม่ได้ รับโปรแกรมฮอร์โมนสำหรับเหนี่ยวนำการตกไข่แต่ได้รับการผสมเทียมเมื่อตรวจพบการเป็นสัด แม่ โคเนื้อในกลุ่มเหนี่ยวนำการตกไข่ ซึ่งได้รับโปรแกรมเหนี่ยวนำการตกไข่ที่มีประสิทธิภาพจากการ ทดลองที่ 1 และได้รับการผสมเทียมแบบกำหนดเวลาในวันที่ 9 แม่โคเนื้อทุกตัวที่ได้รับการผสมเทียม ถูกตรวจวินิจฉัยการตั้งท้องในวันที่ 30 หลังการผสมเทียม ผลการทดลองที่ 1 อัตราการตกไข่สูงที่สุด ในกลุ่ม PMSG4 (90.0%) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (40.0%) แต่ไม่พบความแตกต่างเมื่อเทียบกับกลุ่ม PMSG3 (70.0%;P < 0.05) แม่โคเนื้อในกลุ่ม PMSG3 และ PMSG4 มีอัตราการเจริญเติบโตของ DF จากวันที่ปรากฏคลื่นการพัฒนาของฟอลลิเคิล ถึง วันที่เกิดการตกไข่ (1.31 ± 0.08 และ 1.38 ± 0.13 mm/day) มากกว่าเมื่อเทียบกับแม่โคเนื้อกลุ่มที่ไม่ได้รับ PMSG (กลุ่มควบคุม) (0.71 ± 0.08 mm/day; P <0.05) เส้นผ่านศูนย์กลางของ DF ที่เวลาตกไข่ มีขนาดใหญ่ในแม่โคเนื้อที่ได้รับ PMSG ในวันที่ 3 และ 4 (13.73 ± 0.67 และ 14.01 ± 0.67 mm) มากกว่า (P <0.05) แม่ไคเนื้อกลุ่มที่ไม่ได้รับ PMSG (กลุ่มควบคุม) (9.83 ± 0.46 mm) ความเข้มข้นของฮอร์โมน P4 ในพลาสมา ระหว่างการสอดแท่ง CIDR (>1.00 ng/ml) และหลังถอนแท่ง CIDR (< 1.00 ng/ml) ไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มทคลอง (P> 0.05) ผลการทดลองที่ 2 แม่โคเนื้อที่แสดงการเป็นสัดตามธรรมชาติและผสมเทียม มีอัตราการตั้ง ท้องมากกว่า (P < 0.05) เมื่อเทียบกับแม่โคเนื้อที่เหนี่ยวนำการตกไข่และผสมเทียมแบบกำหนดเวลา (45.7 เทียบกับ 33.3%) ดังนั้นผลการศึกษาในครั้งนี้ได้เน้นถึงผลดีของการใช้ฮอร์โมน PMSG ใน ระหว่างการได้รับไปรแกรม 7-day P4-GnRH-PGF2α ไม่เพียงแต่มีผลดีต่อการเจริญเติบโตของฟอลลิ เคิลบนรังไข่ แต่ยังมีผลดีต่ออัตราการกลับสัดในแม่โคเนื้อที่ให้รับโปรแกรมการผสมเทียมแบบ กำหนดเวลาen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831034 วริษฐา อุกฤษ.pdf8.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.