Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77804
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorวรทัศน์ อินทรัคคัมพร-
dc.contributor.advisorจุฑามาส คุ้มชัย-
dc.contributor.authorดำดวน อำไพทิบen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:05:20Z-
dc.date.available2022-11-05T08:05:20Z-
dc.date.issued2564-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77804-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study some basic personal information, economy, society and cardamom production c conditions of farmers 2) to analyze the factors s related to farmers" knowledge and practice in cardamom production and 3) to study problems, needs and suggestions in cardamom production of farmers. The population of this research were 946 cardamom production famers in Namor district, Oudomxay province, Lao PDR. The sample size of 168 was calculated by Taro Yamane formula with an acceptable error of 0.07 and using simple random sampling by lottery method. Data were collected using the interview schedules from December. 2020 to January 2021. The statistics used to analyze the data consisted of descriptive statistics including frequency, percentage, maximum, minimum, and standard deviation and the inference statistics used multiple regression analysis to test the research hypotheses. The study found that most farmers were male with an average of 41.88 years, attained primary school and the average number of household labors was 3.2 persons. In 2020, farmers had an average cardamom planting area of 12.04 rai, with an average cardamom yield per rai of 23.50 kg, and an average net income from cardamom production per rai of 3,273. 14 baht. Most farmers did not contact with agricultural extension officers and did not receive information about cardamom production; moreover, all farmers have not been trained on cardamom production. Most farmers had moderate knowledge level of cardamom production and had high practices level of cardamom production. The result of the hypothesis found that education, number of household labor were positive statistically significant related to farmers' knowledge on cardamom production and size of cardamom planting area was negative statistically significant related to farmers' knowledge on cardamon production. Gender, education, number of household labor and net income from cardanom production were positive statistically significant related to farmers' practices on cardamom production. The research also found that most farmers suffer from drought, destructive pests, market and price of cardamom were uncertain and cardamom not fruiting, respectively. Therefore, most farmers need relevant agencies to promote the cardamom production techniques, flower accelerator and pollination methods and most farmers propose to the relevant agencies to support the marketing and price of cardamom to be certain, construction the cardamom dryers and offer good cardanom seedlings for farmers. Therefore, the relevant agencies in the area such as the agriculture and forestry office, Namor district should regularly transfer knowledge and providing training on cardanom production techniques by emphasizing practice to farmers and providing support the necessary factors for cardamom production for Farmers especially the preparation of cardamom planting area, how to grow cardamom, cardamom pruning, dehumidification and storage of cardamom for farmers to implement properly. The commercial office, Namor district should provide cardamom marketing support to farmers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรู้และการปฏิบัติในการผลิตกระวานของเกษตรกร อำเภอนาหม้อจังหวัดอุดมไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeFarmers’ knowledge and practices on Cardamom production in Namor District, Oudomxay Province, Laos PDRen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกระวาน – การปลูก-
thailis.controlvocab.thashกระวาน – การผลิต-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ลาว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ สังคม และสภาพ การผลิตกระวานบางประการของเกษตรกร 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และการ ปฏิบัติในการผลิตกระวานของเกษตรกร 3) เพื่อศึกษาปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะในผลิต กระวานของเกษตรกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ เกษตรกรผู้ผลิตกระวานใบอำเภอนาหม้อ จังหวัด อุดมไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 964 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยปรับใช้ สูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.07 ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 168 คน และใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบง่ายโดยวิธีการจับสลากแบบไม่ใส่กลับคืน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์ตั้งแต่ เตือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2563 ถึงเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2564 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วย สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ อ้างอิง คือ การวิเคราะห์ถดถอยพทุแบบขั้นตอน (Stepwise method) ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 41.88 ปี สำเร็จการศึกษาระดับ ประถมศึกษา มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3.20 คน ในปี พ.ศ. 2563 เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกกระวานเฉลี่ย 12.04 ไร่ โดยได้ผลผลิตกระ เฉลี่ยต่อไร่ 23.50 กิโลกรัม, และมีรายได้สุทธิจากการผลิตกระวานต่อ ไร่เฉลี่ย 3,273.14 บาท โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ให้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่สั่งเสริมการเกษตรและไม่ได้ รับข้อมูลข่าวสารการผลิตกระวาน อีกทั้งเกษตรกรทั้งหมดไม่ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการผลิต กระวาน ทั้งนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ในการผลิตกระวานระดับปานกลางและมีการปฏิบัติถูกต้อง ระดับมาก ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ในการผลิตกระวาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ระดับการศึกยา จำนวนแรงงานในครัวเรือน (มีความ สัมพันธ์เชิงบวก) และขนาดพื้นที่ปลูกกระวาน (มีความสัมพันธ์เชิงลบ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการ ปฏิบัติในการผลิตกระวาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา จำนวน แรงานในครัวเรือน และรายได้สุทธิจากการผลิตกระวานต่อไร่ การวิจัยยังพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปัญหาภัยแล้ง ศัตรูพืชทำลาย การตลาดและราคา กระวานไม่แน่นอน และกระวานไม่ติดผล ตามลำดับ ทั้งนี้เกษตรกรส่วนใหญ่ต้องการให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเข้ามาทำการส่งเสริมด้านเทคนิคการผลิตกระวาน ให้การสนับสนุนสารเร่งดอกกระวาน และวิธีการผสมกสรกระวานที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ดลอดจนเกษตรกรส่วนใหญ่เสนอให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการสนับสนุนด้านการตลาดและราคากระวานให้มีความแน่นอน สนับสนุน การสร้างเตาอบกระวาน และสนับสนุนกล้าพันธุ์ดีกระวานให้เกษตรกร ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น สำนักงานเกษตรและป่าไม้ อำเภอนาหม้อ ควรเข้าไป ถ่ายทอดความรู้และจัดอบรมเกี่ยวกับเทคนิคการผลิตกระวานให้แก่เกษตรกรอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการเตรียมพื้นที่ปลูกกระวาน วิธีการปลูกกระวาน การตัดแต่งต้นกระวาน การลดความชื้น และการเก็บรักษากระวานกระวาน เพื่อให้เกษตรกรได้นำไปปฏิบัติให้ถูกต้อง พร้อมทั้งให้การ สนับสนุนปัจจัยที่จำเป็นต่อการผลิตกระวานให้แก่เกษตรกร เช่น กล้าพันธุ์ดีกระวาน สารเร่งคอก กระวาน และปุ๋ยสำหรับกระวาน ดลอดจนสำนักงานอุตสาหกรรมการค้า อำเภอนาหม้อ ควรให้การ สนับสนุนด้านการตลาดกระวานให้แก่เกษตรกรen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620831056 DAMDUAN AMPHAITHIP.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.