Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.authorพริมม์รฎา ปาระมีen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T05:27:17Z-
dc.date.available2022-11-05T05:27:17Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77784-
dc.description.abstractThis research aimed to study the use of task–based teaching with digital media to develop English listening-speaking abilities and self–confidence of grade 6 students. The objectives of this research were 1) to study the listening-speaking abilities of the students during their studies and posttest by using task–based teaching with digital media 2) to compare the student’s self–confidence before and after the use of task– based teaching with digital media plans. The population was 10 students in grade 6, during the second semester in the academic year 2021 of Wat Pra Chaoluem School, Hangdong District, Chiang Mai province. The research instruments were 5 lesson plans using task–based teaching with digital media, listening and speaking tests, a self-confidence assessment form, and a behavioral observation and evaluation record form. The data were analyzed by using means, standard deviations, percentages, and relative gain scores. Qualitative data were analyzed by content analysis, issue summary, and descriptive explanation. The results showed that 1) the listening-speaking abilities of students during their studies by using of task– based teaching with digital media were at a good level equal 71 percent and after learning was higher than the prior learning with a relative gain score equal 57.7 percent. The learning development was at a high level. 2) from the results of the self-confidence assessment after learning by task–based teaching with digital media, the student’s self-confidence was higher than the prior learning with a relative gain score equal 74.8 percent. The learning development was at a high level. From the individual behavioral observation and evaluation record form, the student’s self-confidence was higher than the prior learning with a relative gain score mean equal 55.6. The learning development was at a high level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษและความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeUse of Task–Based teaching with digital media to develop english listening-speaking abilities and self–confidence of grade 6 studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง การใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาความสามารถในการฟัง-พูด ภาษาอังกฤษและความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการ ฟัง - พูดภาษาอังกฤษของผู้เรียน ระหว่างเรียนและหลังการเรียนโดยการใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับการใช้สื่อ ดิจิทัล 2) เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองผู้เรียน ก่อนและหลังการเรียนโดยการใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงาน ร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดพระเจ้าเหลื้อม อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัล แบบทดสอบและแบบประเมินความสามารถด้านการฟัง – พูด ภาษาอังกฤษ แบบวัดความเชื่อมั่นในตนเองและแบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และค่าร้อยละพัฒนาการ วิเคราะห์ผลการสังเกตโดยการวิเคราะห์เนื้อหา สรุปประเด็นและบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถในการฟัง-พูดภาษาอังกฤษระหว่างเรียนโดยการใช้การ สอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงานร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัล อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 71 และหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีค่า ร้อยละพัฒนาการ เท่ากับ 57.7 เป็นพัฒนาการระดับสูง 2) หลังจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้การสอนภาษาแบบมุ่งปฏิบัติงาน ร่วมกับการใช้สื่อดิจิทัล จากผลการวัดความเชื่อมั่นในตนเอง พบว่า นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่า ร้อยละพัฒนาการ เท่ากับ 74.8 ถือว่ามีพัฒนาการระดับสูง จากผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล มีค่าร้อยละพัฒนาการ เท่ากับ 55.6 ถือว่ามีพัฒนาการระดับสูงen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232066 พริมม์รฎา ปาระมี.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.