Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77769
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาลินี คุ้มสุภา | - |
dc.contributor.author | ณัฐณิชา แสนปัญญา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-31T09:53:00Z | - |
dc.date.available | 2022-10-31T09:53:00Z | - |
dc.date.issued | 2022-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77769 | - |
dc.description.abstract | The independent study on Symbolic Expressions in the Political Movement of the Youth in Chiang Mai Province, B.E. 2563 - 2564. The objectives of the study is to study the features and meaning of the signs including the political ideology presented by the youth in Chiang Mai. The research questions are ; 1) What is the form and meaning of political expression sign of youth in Chiang Mai? And 2) What political ideology is involved and pushed on the youth groups in Chiang Mai for political movement? This study is a qualitative research by using documentary research from news, articles, and social media about political expressions in Chiang Mai, together with in-depth interviews from people involved in the political movement of youth in Chiang Mai. The results of the study found that Chiang Mai youth protests created political expressions in cooperation with local political networks for initiating political issues movement. The demand issues are subordinated with the national movement and showed an interesting symbolic expression through artistic created by objects in everyday life. Furthermore, the artistic works are shown in different patterns in order to tell situations and problems in the society, as well as proposed political demands. There are four types of symbolic expressions, namely 1) ideological sign through the image of “Khana Ratsadon” (People's Party), 2) against political authority sign, 3) political struggle sign, and 4) related monarchical sign. The main objectives are created an ideology of resistance and challenge of the main occupied institutions in the society, such as government, police, military, political authorities, law, constitution, as well as the monarchy by creating social awareness among people to stimulate questioning of the existence of these institutions. The youths’ political activities in Chiang Mai created the atmosphere and the use of symbols to attract general public participation. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ | en_US |
dc.subject | สัญญะทางการเมือง | en_US |
dc.subject | การเคลื่อนไหวทางการเมือง | en_US |
dc.subject | การเคลื่อนไหวทางการเมืองจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564 | en_US |
dc.title.alternative | Symbolic expressions in the political movement of the youth in Chiang Mai Province, B.E. 2563-2564 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การเมือง -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กกับการเมือง -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | เยาวชน -- กิจกรรมทางการเมือง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระ เรื่อง การแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2563 – 2564 มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะและความหมายเชิงสัญญะ รวมไปถึงอุดมการณ์ทางการเมืองที่เยาวชนจังหวัดเชียงใหม่นำเสนอ ผ่านการตั้งคำถามว่า สัญญะที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมืองของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ มีรูปแบบและมีความหมายอย่างไร และอุดมการณ์ทางการเมืองใดมีส่วนเกี่ยวข้องและผลักดันให้กลุ่มเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง งานศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ซึ่งใช้การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) จากข่าว บทความ สื่อสังคมออนไลน์ ที่เกี่ยวกับการแสดงออกทางการเมืองในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) จากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า เยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ ได้แสดงออกทางการเมืองโดยร่วมมือกับเครือข่ายทางการเมืองในพื้นที่ เคลื่อนไหวริเริ่มประเด็นทางการเมืองขึ้น ซึ่งประเด็นข้อเรียกร้องสอดคล้องกับการเคลื่อนไหวในระดับชาติ และมีการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ ที่น่าสนใจโดยหยิบยกวัตถุในชีวิตประจำวัน มาสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ทางศิลปะ และมีการแสดงในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อบอกเล่าเหตุการณ์ และนำเสนอปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม ตลอดจนเสนอข้อเรียกร้องในทางการเมือง ซึ่งการแสดงออกดังกล่าว ได้ปรากฏสัญญะ 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) สัญญะเชิงอุดมการณ์ผ่านภาพ “คณะราษฎร” 2) สัญญะเชิงต่อต้านผู้มีอำนาจทางการเมือง 3) สัญญะเรื่องราวการต่อสู้ทางการเมือง และ 4) สัญญะเกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ สร้างอุดมการณ์ต่อต้านขัดขืนและท้าทายสถาบันหลักที่ถือครองอำนาจนำในสังคม อาทิ รัฐบาล ตำรวจ ทหาร ผู้มีอำนาจทางการเมือง กฎหมาย รัฐธรรมนูญ ตลอดจนสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้วยการสร้างสำนึกทางสังคมให้ประชาชน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตั้งคำถามต่อการดำรงอยู่ของสถาบันดังกล่าว โดยกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ได้ทำหน้าที่สร้างบรรยากาศพื้นที่ และการใช้สัญลักษณ์เป็นสิ่งดึงดูดให้ประชาชนทั่วไปรู้สึกสนใจเข้ามามีส่วนร่วม | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932067-ณัฐณิชา แสนปัญญา.pdf | 4.3 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.