Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorHien Van Doan-
dc.contributor.advisorSudaporn Tongsiri-
dc.contributor.authorPiyatida outamaen_US
dc.date.accessioned2022-10-27T11:48:44Z-
dc.date.available2022-10-27T11:48:44Z-
dc.date.issued2022-09-16-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77752-
dc.description.abstractNile tilapia (Oreochromis niloticus) is one of the most widely farmed fish due to its well-adapted fish, rapid growth, and significant commercial price. However, intensified aquaculture affects fish behavior, immunological function, and stress. Additionally, fish farming at high stocking density can give rise to the emergence of diseases and high accumulation of organic matters because of feed and faeces. Disease management in Nile tilapia aquaculture frequently involves the use of antibiotics and chemotherapy. Numerous plant-based immunostimulants or their derivatives continue to be the best alternative for avoiding the issues of drug residues and drug-resistant microbes in fish farming. The objective of this work was to evaluate the effects of mango peels and passion fruit peels on growth performance, mucosal and serum immunity, and relative immune and antioxidant gene expressions of Nile tilapia, Oreochromis niloticus. Mango peel experiment The effects of mango peel powder (MGPP) on growth, innate immunity, and immune-antioxidant related gene expression of Nile tilapia reared under biofloc system were investigated. Three hundred Nile tilapia (average weight 14.78 ± 0.05 g) were distributed into 15 fiber tanks (300 L per tank) assigned to five treatments in triplication. Fish were fed basal diet containing different levels MGPP as follows: 0 (MGPP0: control), 6.25 (MGPP 6.25), 12.5 (MGPP 12.5), 25 (MGPP 25), and 50 (MGPP 50) g kg−1 diet for 8 weeks. Specific growth rate (SGR), weight gain (WG), final weight (FW), feed conversion ratio (FCR), skin mucus of lysozyme (SMLA), and peroxidase activities (SMPA), serum of lysozyme (SL) and peroxidase (SP) were measured every four weeks; while immune- antioxidant-related gene expressions were determined after 8 weeks post-feeding. The results indicated that MGPP 25 diet resulted in higher SGR, WG, FW, and FCR but no significant differences among treatments were noticed. In terms of immune responses, lysozyme and peroxidase activities in mucus and serum were significantly higher in MGPP 12.5 and MGPP 25 diets against the control. Similarly, significant up-regulation of IL-1 and IL-8 gene expressions was observed in fish fed MGPP 25 against the control. However, no significant differences in LBP, GSTa, GPX, and GSR among treatments were observed. In conclusions, dietary inclusion of MGPP 25 significantly enhanced immune response and immune related gene expressions but not growth performance and antioxidant gene expressions. The results implied that MGPP can be potentially used as an immunostimulants in Nile tilapia culture. Passion fruit experiment The impacts of dietary supplementation with passion fruit (Passiflora edulis) peel powder (PSPP) on the growth, immune response, and expression of immune and antioxidant-related genes in Nile tilapia maintained in a biofloc system were examined. Fish were fed basal diets supplemented with different doses of PSPP at 10 g kg−1 (PSPP10), 20 g kg−1 (PSPP20), 40 g kg−1 (PSPP40), and 80 g kg−1 (PSPP80). The basal diet, without PSPP-supplementation, was used as a control at 0 g kg−1 (PSPP0). The results showed that the dietary supplementation groups fed different levels of PSPP exhibited no substantial difference or only slight increases in growth performance and immunological response in Nile tilapia (P > 0.05), whereas fish fed diets supplemented with PSPP at concentrations of 10 g kg−1 , 20 g kg−1 , and 40 g kg−1 had significantly higher mRNA transcripts (approximately 1.5–4.5 fold) of immune (IL-1, IL -8, and LBP) and antioxidant (GSTa, GPX, and GSR) gene expressions than fish in the control treatment group (0 g kg−1). In conclusion, these findings suggest that dietary supplementation with PSPP may effectively stimulate the immune and antioxidant defense system and may function as feed additives in Nile tilapia cultured in a biofloc system. Overall, dietary inclusion of mango peel powder (MGPP) and passion fruit peel powder (PSPP) in the present study did not enhance Nile tilapia growth and feed utilization after 8 weeks of feeding. while innate immune responses and expression of immune-related genes in tilapia were fed supplement dietary fruits, appeared tend to increase. In addition, only dietary inclusion passion fruit peel powder promoted the expression of antioxidant genes.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMango peelen_US
dc.subjectPassionfruit peelen_US
dc.subjectGrowth performanceen_US
dc.subjectInnate immunityen_US
dc.subjectGene expressionen_US
dc.subjectBiofloc systemen_US
dc.titleUse of some agricultural by-products as functional feed additives for nile tilapia culture under biofloc systemen_US
dc.title.alternativeการใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรบางชนิดเป็นวัตถุดิบเสริมในการเลี้ยงปลานิลภายใต้ระบบไบโอฟลอคen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.lcshNile tilapia-
thailis.controlvocab.thashCrop residues-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปลานิล (Oreochromis niloticus) เป็นปลาที่เพาะเลี้ยงกันอย่างกว้างขวางที่สุดชนิดหนึ่ง ปลาชนิดนี้เจริญเติบโตเร็วและเลี้ยงง่ายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายอีกทั้งเป็นที่ต้องการของตลาดอีกด้วย อย่างไรก็ตามการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบเข้มข้นส่งผลต่อพฤติกรรมของปลา การทำงานของภูมิคุ้มกัน และความเครียด นอกจากนี้การเลี้ยงปลาด้วยความหนาแน่นสูงสามารถก่อให้เกิดโรคและการสะสมของอินทรียวัตถุสูงเนื่องจากอาหารและอุจจาระ การจัดการโรคในการเพาะเลี้ยงปลานิลมักเกี่ยวข้องกับการใช้ยาปฏิชีวนะและเคมีบำบัด สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันจากพืชจำนวนมากหรืออนุพันธ์ยังคงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการหลีกเลี่ยงปัญหาของยาตกค้างและจุลินทรีย์ที่ดื้อยาในการเลี้ยงปลา งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบของเปลือกมะม่วงและเปลือกเสาวรสต่อการเจริญเติบโต ภูมิคุ้มกันของเยื่อเมือกและซีรัม และการแสดงออกของยีนภูมิคุ้มกันและยีนเกี่ยวกับสารต้านอนุมูลอิสระของปลานิล การทดลองเปลือกมะม่วง จากการศึกษานี้ประเมินผลของผงเปลือกมะม่วง ต่อการเจริญเติบโต ภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด และการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันและสารต้านอนุมูลอิสระของปลานิลที่เลี้ยงภายใต้ระบบไบโอฟลอค โดยใช้ปลานิล 300 ตัว โดยมีน้ำหนักเฉลี่ย 14.78 ± 0.05 กรัม แบ่งเป็น5สูตรอาหาร การทดลองละ 3 ซ้ำ ซึ่งแต่ละสูตรอาหารเสริมเปลือกมะม่วงที่ระดับแตกต่างกัน ดังนี้ 0 (MGPP0: control), 6.25(MGPP 6.25), 12.5(MGPP 12.5), 25 และ 50 กรัมต่อกิโลกรัม เป็นเวลา 8 สัปดาห์ อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (SGR), การเพิ่มของน้ำหนัก (WG), น้ำหนักสุดท้าย (FW), อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนัก (FCR), เมือกผิวหนังของไลโซไซม์(SMLA) และกิจกรรมเปอร์ออกซิเดส (SMPA) ซีรัมของไลโซไซม์ (SL) และเปอร์ออกซิเดส (SP)วัดทุก 4สัปดาห์ในขณะที่มีการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันและสารต้านอนุมูลอิสระหลังให้อาหาร 8 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่าอาหารเสริมผงเปลือกมะม่วงที่ระดับ 25 กรัมต่อกิโลกรัม ส่งผลให้อัตราการเจริญเติบโตจําเพาะ (SGR), การเพิ่มของน้ำหนัก (WG),น้ำหนักสุดท้าย ( FW) และ อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนัก (FCR) แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในแต่ละกลุ่มการทดลอง ในส่วนของภูมิคุ้มกันการตอบสนองฤทธิ์ของกิจกรรมไลโซไซม์และเปอร์ออกซิเดสในเมือกผิวหนังและซีรัมในอาหารเสริมผงเปลือกมะม่วงที่ระดับ 12.5 และ 25 กรัมต่อกิโลกรัมมีค่าสูงกว่าอาหารสูตรควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ เช่นเดียวกันกับการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันและสารต้านอนุมูลอิสระที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของ IL-1 และ IL-8 พบในปลาที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมผงเปลือกมะม่วงที่ระดับ 25 กรัมต่อกิโลกรัมเมื่อเทียบกับกลุ่มอาหารสูตรควบคุม อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในยีน LBP, GSTa, GPX และ GSR ในแต่ละกลุ่มการทดลอง สรุปผลการทดลองพบว่าอาหารเสริมผงเปลือกมะม่วงที่ระดับ 25 กรัมต่อกิโลกรัมช่วยเพิ่มการตอบสนองของภูมิคุ้มกันและการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและการแสดงออกของยีนสารต้านอนุมูลอิสระ ผลปรากฏว่า อาหารเสริมผงเปลือกมะม่วง สามารถใช้เป็นสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันในการเลี้ยงปลานิลได้ การทดลองเปลือกเสาวรส จาการศึกษานี้ผลของอาหารเสริมผงเปลือกเสาวรส ต่อการเจริญเติบโต การตอบสนองภูมิคุ้มกัน และการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันและสารต้านอนุมูลอิสระของปลานิลที่เลี้ยงภายใต้ระบบไบโอฟลอค ปลาถูกเลี้ยงด้วยอาหารสูตรควบคุมที่เสริมด้วยผงเปลือกเสาวรสที่ระดับแตกต่างกัน ดังนี้ 10 (PSPP10), 20 (PSPP20), 40 (PSPP40) และ 80 (PSPP80) กรัมต่อกิโลกรัม อาหารสูตรควบคุมโดยไม่มีการเสริม PSPP ถูกใช้เป็นตัวควบคุมที่ 0 กรัมต่อกิโลกรัม (PSPP0) ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในปลาที่เลี้ยงด้วยอาหารเสริมผงเปลือกเสาวรสที่ระดับแตกต่างกันนั้นไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญหรือเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย (P > 0.05) ในขณะที่อาหารเสริมเปลือกเสาวรสที่ความเข้มข้น 10 , 20 และ 40 กรัมต่อกิโลกรัม พบการแสดงออกของยีนภูมิคุ้มกัน (IL-1, IL -8 , และ LBP) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (ประมาณ 1.5–4.5 เท่า) และการแสดงออกของยีนสารต้านอนุมูลอิสระ (GSTa, GPX และ GSR) มากกว่าปลาที่ได้รับอาหารสูตรควบคุม (0 กรัมต่อกิโลกรัม) สรุปผลการทดลองการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าการเสริมอาหารด้วยเปลือกเสาวรส อาจกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันและสารต้านอนุมูลอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอาจทำหน้าที่เป็นสารเติมแต่งอาหารในปลานิลที่เพาะเลี้ยงในระบบไบโอฟลอค โดยรวมแล้วอาหารเสริมผงเปลือกมะม่วงและเสริมผงเปลือกเสาวรส ไม่ส่งผลต่อการประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของปลานิลและการใช้อาหารหลังจากให้อาหาร 8สัปดาห์ ในขณะที่ส่งเสริมการตอบสนองภูมิคุ้มกันโดยกำเนิดและการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันในปลานิล นอกจากนี้อาหารเสริมผงเปลือกเสาวรสเท่านั้นส่งเสริมการแสดงออกของยีนการต้านอนุมูลอิสระen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620831016-Piyatida outama.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.