Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูโชค อายุพงศ์-
dc.contributor.authorปิยะพล สงวนศรีen_US
dc.date.accessioned2022-10-27T11:03:41Z-
dc.date.available2022-10-27T11:03:41Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77748-
dc.description.abstractThis research aims to find out the best alternative planning for water resource development by application of analytic hierarchy process. The important factors for water resource development were determined by using a literature review and the opinions of the experts in water resources development. Then, the analytic hierarchy process techniques to determine the importance of each factor to project prioritization. In conclusion, the importance of the factors includes 6 main criteria. The most important is the engineering factor weight 23.62%, the second is economic 17.38%, the third is environmental impact weight 15.86%, the fourth is hydrology weight 15.57%, the fifth is population and society weight 14.84% and finally irrigation weight 12.73%. After that, apply the weight value of each factor to select water resource development projects in the case study of Rai Dong Village, Ban Luang Sub-District, Chom Thong District, Chiang Mai Province. The best alternative planning for water resource development is alternative number 2 by constructing reinforced concrete weir with diversion flume and the small reservoiren_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นในการคัดเลือกโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ : กรณีศึกษา บ้านไร่ดงen_US
dc.title.alternativeApplication of analytic hierarchy process to select water resource development projects: a case Study of Rai Dong Villageen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาแหล่งน้ำ-
thailis.controlvocab.thashแหล่งน้ำ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้มุ่งเน้นเพื่อค้นหาแนวทางที่ดีที่สุดในการวางแผนพัฒนาแหล่งน้ำโดยอาศัยทฤษฎี กระบวนการการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น จากการศึกษารวบรวมค้นคว้าข้อมูล และแบบสอบถามสัมภาษณ์ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาแหล่งน้ำ โดยใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process : AHP) เพื่อจัดลำดับความสำคัญ พบว่าปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการคัดเลือกโครงการพัฒนาแหล่งน้ำประกอบด้วยปัจจัยหลัก 6 ด้าน โดยปัจจัยที่มีความสำคัญลำดับที่ 1 ปัจจัยทางด้านวิศวกรรม ร้อยละ 23.62 ลำดับที่ 2 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 17.38 ลำดับที่ 3 ปัจจัยทางด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 15.86 ลำดับที่ 4 ปัจจัยทางด้านอุทกวิทยา ร้อยละ 15.57 ลำดับที่ 5 ปัจจัยด้านประชาชนและสังคม ร้อยละ 14.84 และลำดับสุดท้าย ปัจจัยด้านการชลประทาน ร้อยละ 12.37 เมื่อนำคะแนนค่าน้ำหนักร้อยละที่ได้ไปทดลองเลือกโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในกรณีศึกษาพื้นที่บ้านไร่ดง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าโครงการพัฒนาแหล่งน้ำที่เหมาะสม ในบริเวณพื้นที่ดังกล่าว คือแนวทางพัฒนาแหล่งน้ำทางเลือกที่ 2 ก่อสร้างฝายคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมระบบผันน้ำ จำนวน 1 แห่ง และก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก จำนวน 1 แห่งen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632005-ปิยะพล สงวนศรี.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.