Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAtichart Harncharnchai-
dc.contributor.authorZeng, Yuqien_US
dc.date.accessioned2022-10-15T09:35:17Z-
dc.date.available2022-10-15T09:35:17Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74248-
dc.description.abstractThe small and medium sized enterprises (SMEs) in the north of Thailand lack the knowledge of marketing and selling products online to China based on social media. In addition, they lack of knowledge about customers as well as their requirements and demands, thus causing low customer awareness and sales. The purpose of this research is to develop a framework based on customer knowledge management (CKM) approach to improve customer awareness and satisfaction for Thai SMEs using "'Do buy shop" as a case study. A qualitative research method has been used in the study. Data collection was conducted through an interview, observation and document analysis. A variety of tools are used in accordance with the KM process. Root cause analysis, SWOT and TOWS analysis, Text mining and Kano model are used in the stage of knowledge capture and analysis, giving the result of knowledge-about and knowledge-from customers. In the knowledge creation step, a social media marketing strategy based on WeChat and Weibo platforms is developed and its prototype was created and implemented in knowledge applying stage, giving the output of knowledge for customers. The assessment result of 85 customers on the social media prototype shows that the business performance was improved as shown by its sales volume of more than 7000 bath within the one-month implementation period. Moreover, based on 20 customers who had experience in using social media prototype, the customer satisfaction result is also high showing the percentage of more than 60% in every questionnaire items. In addition, a social media marketer also satisfy on the developed social media strategy in terms of the intelligible and practical benefits.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDesigning a social media strategy of herbal cosmetic products for Chinese customers using customer knowledge managementen_US
dc.title.alternativeการออกแบบกลยุทธ์โซเชียลมีเดียของผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพรสำหรับลูกค้าจีนโดยใช้การจัดการความรู้ลูกค้าen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshCosmetics -- Purchasing-
thailis.controlvocab.lcshSocial media -- Marketing-
thailis.controlvocab.lcshSales promotion-
thailis.controlvocab.lcshMarketing -- Management-
thailis.controlvocab.lcshKnowledge management-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคเหนือของประเทศไทยขาดความรู้ด้านการตลาด และการขายสินค้าออนไลน์ไปยังประเทศจีน โดยใช้สื่อสังคม นอกจากนี้ผู้ประกอบการยังขาดความรู้ เกี่ยวกับลูกค้า รวมทั้งความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้การรับรู้ของลูกค้าและยอดขายสินค้าต่ำ การ วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากรอบตามแนวทางการจัดการความรู้ลูกค้า เพื่อเพิ่มการรับรู้และ ความพึงพอใจของลูกค้าสำหรับ SMEs ไทยโดยใช้ร้านค้า Do buy shop เป็นกรณีศึกษา การศึกษาใช้ วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการผ่านการสัมภาษณ์ การสังเกต และการ วิเคราะห์เอกสาร โดยมีการใช้เครื่องมือที่หลากหลายเละสอดคล้องตามกระบวนการจัดการความรู้ ใน ขั้นตอนของการรวบรวมและวิเคราะห์ความรู้ เครื่องมือที่นำมาใช้ ได้แก่ กรวิเคราะห์สาเหตุ การ วิเคราะห์ SWOT และ TOWS การทำเหมืองข้อความ และแบบจำลองคาโน่ ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ความรู้ เกี่ยวกับลูกค้าและความรู้จากลูกค้า ในขั้นตอนการสร้างความรู้ กลยุทธ์การตลาดโซเชียลมีเดียถูก พัฒนาขึ้นโดยใช้แพลตฟอร์ม We Chat และ Weibo โดยมีการสร้างต้นแบบและนำไปใช้งานในขั้นตอน การนำความรู้ไปใช้ ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ความรู้สำหรับลูกค้า ภัยเชียงไหม่ ผลการประเมินลูกค้าจำนวน 85 ราย ที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 1 เดือนภายหลังการใช้ต้นแบบ โซเชียลมีเคีย พบว่า ผลการดำเนินงานของผู้ประกอบการ SME ดีขึ้นด้วยยอดขายที่มากกว่า 7000 บาท นอกจากนี้ ผลการประเมินลูกค้จำนวน 20 รายที่มีประสบการณ์การใช้ต้นแบบโซเชียลมีเดีย พบว่า ลูกค้ามีความความพึงพอใจในระดับสูงในระดับที่สูงกว่าร้อยละ 60 ทุก ๆ ข้อคำถามของแบบสอบถาม นอกจากนั้น นักการตลาดโซเชียลมีเดียพึงพอใจกับกลยุทธ์ โซเชียลมีเดียที่พัฒนาขึ้นในด้านความ เข้าใจได้ง่ายและประโยชน์ที่สามารถนำไปใช้ได้จริงen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622132020 YUQI ZENG.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.