Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิยา นารินทร์-
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.authorจิราวรรณ ศรีทองพิมพ์en_US
dc.date.accessioned2022-10-02T05:35:21Z-
dc.date.available2022-10-02T05:35:21Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74174-
dc.description.abstractHealth literacy is an essential for practices in prevention of Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) among persons with chronic diseases. This quasi-experimental research study, with a two-group pretest-posttest design, aimed to compare mean scores for health literacy and practices in prevention of COVID-19 among persons with chronic diseases. The participants were 50 persons with a chronic disease; with living in the responsibility of Dongjen Health Promoting Hospital, Phukamyao District, Phayao Province, assigned to an experimental group (n = 25) and a control group (n = 25). The study was conducted from January to February 2022. The research instruments consisted of 1) the health literacy promotion program; 2) a guide book, media and equipment; 3) a questionnaire on health literacy for prevention of COVID-19; and 4) an assessment form on COVID-19 prevention practices, all of which were verified for content validity by six experts with a content validity index (CVI) of 0.93 and a Cronbach’s alpha coefficient of 0.95. Descriptive statistics, paired t-test and independent t-test were used to analyze the data. The result revealed that the experimental group had mean scores for health literacy after receiving the health literacy promotion program (x ̅ = 4.02, S.D. = 0.36) higher than before receiving the program (x ̅ = 3.48, S.D. = 0.33); and higher than those of the control group (x ̅ = 3.40, S.D. = 0.27) with statistical significance (p<0.05). The experimental group had mean scores for practices on prevention of COVID-19 (x ̅ = 4.21, S.D. = 0.27) higher than before receiving the program (x ̅ = 3.63, S.D. = 0.30); and higher than those of the control group (x ̅ = 3.50, S.D. = 0.23) with statistical significance (p<0.05). The results of this study revealed that community nurse practitioners and health care teams can be used as a guideline to promote the potential of persons with chronic diseases in the community by implementing health literacy programs to promote health literacy for effective practice in prevention of coronavirus disease 2019.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพen_US
dc.subjectการปฏิบัติป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019en_US
dc.subjectโรคเรื้อรังen_US
dc.subjectโคโรนา 2019en_US
dc.subjectโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้en_US
dc.subjectHealth Literacy Promotion Programen_US
dc.subjectPractices in Prevention of Coronavirus Disease 2019en_US
dc.subjectHealth Literacyen_US
dc.subjectnon-communicable diseaseen_US
dc.subjectCommunityen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffects of thehealth literacy promotion program on health literacy and practices in prevention of coronavirus disease 2019 among persons with chronic disease in communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความรอบรู้ทางสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashอนามัยชุมชน-
thailis.controlvocab.thashไวรัสโคโรนา-
thailis.controlvocab.thashการติดเชื้อไวรัสโคโรนา-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสำคัญต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง การศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) เป็นแบบสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง (two-group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม (n = 25) และกลุ่มทดลอง (n = 25) อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงเจน อำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ 2) คู่มือ สื่อ และอุปกรณ์ 3) แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และ 4) แบบประเมินการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.93 และค่าความเชื่อมั่น สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพ (x ̅ = 4.02, S.D. = 0.36) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ ((x ) ̅= 3.48, S.D. = 0.33) และสูงกว่ากลุ่มควบคุม ((x ) ̅= 3.40, S.D. = 0.27) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และมีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (x ̅ = 4.21, S.D. = 0.27) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ (x ̅ = 3.63, S.D. = 0.30) และสูงกว่ากลุ่มควบคุม (x ̅ = 3.50, S.D. = 0.23) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพสามารถนำผลการวิจัยนี้ไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมศักยภาพผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังในชุมชน เพื่อการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและส่งผลต่อการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.