Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74171
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ แก้วโมราเจริญ | - |
dc.contributor.author | ยศนันทน์ สุวรรณ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-02T01:08:55Z | - |
dc.date.available | 2022-10-02T01:08:55Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74171 | - |
dc.description.abstract | In the road construction, the road data collection survey is one of the initial processes and is an essential component for the project time management. If the management of the survey process is well-organized, efficient and not delayed, it will result in other construction processes as the projects will begin construction earlier and will increase the chance of project completion before the contract expires. Therefore, the choosing of method and appropriate survey equipment would be the key success of road construction project because it will consume the costs, time and resources efficiently. This study will reveal the comparison of effectiveness and the performance of data collection survey of trees’ coordinates which inferred as road obstacle by comparing 3 types of devices, including TOTAL STATION camera, GPS receiver, and applications to locate GPS coordinates on smartphones. The result indicates that each tool is suitable for data collection surveys depending on the key purpose. For the limited time purpose, we should use a portable GPS. But if we would like to save the project costs, we had better select a smartphone because of a lower cost per day and the similar accuracy. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเก็บพิกัดต้นไม้ในงานก่อสร้างทางระหว่างกล้องโททอลสเตชัน อุปกรณ์จีพีเอสแบบพกพา และสมาร์ตโฟน | en_US |
dc.title.alternative | Comparison of construction surveying efficiency and effectiveness for locating roadside tree among a total station, a handheldGPS, and a smartphone | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ถนน -- การออกแบบและการสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | ถนน -- เครื่องมือและอุปกรณ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก | - |
thailis.controlvocab.thash | สมาร์ทโฟน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในการก่อสร้างถนน การเก็บพิกัดวัตถุต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นที่ที่จะทำการก่อสร้างถือเป็นกระบวนการการทำงานอันดับแรก ๆ ของการก่อสร้างถนน และมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเวลาการก่อสร้างของโครงการ เพราะหากบริหารจัดการในกระบวนการสำรวจรังวัดได้ดีมีประสิทธิภาพไม่ล่าช้าย่อมส่งผลให้การก่อสร้างในส่วนอื่น ๆ ของโครงการเริ่มก่อสร้างได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ให้เพิ่มโอกาสก่อสร้างถนนได้เสร็จก่อนหมดอายุสัญญา ดังนั้นการเลือกวิธีการ และอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสำรวจรังวัดถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งในงานก่อสร้างถนนเพราะทำให้ใช้ต้นทุนเวลา และทรัพยากรที่มีได้อย่างคุ้มค่า โดยการศึกษาครั้งนี้เปรียบเทียบประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการเก็บข้อมูลพิกัดของต้นไม้ที่ติดขัดการก่อสร้างถนน โดยการเปรียบเทียบระหว่างอุปกรณ์ทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่ กล้องโททอลสเตชัน (Total Station) เครื่องรับสัญญาณ GPS และแอพพลิเคชั่นหาพิกัด GPS บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่าแต่ละเครื่องมือมีความเหมาะสมต่อการใช้งานในการเก็บพิกัดต้นไม้ในการก่อสร้างถนนที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับเงื่อนไขเมื่อเปรียบเทียบเรื่องของระยะเวลา หากต้องการการเก็บข้อมูลที่รวดเร็วควรเลือกใช้เครื่อง GPS แบบพกพา แต่ถ้าต้องการประหยัดต้นทุนการทำงานควรเลือกใช้โทรศัพท์สมาร์ตโฟนจะดีกว่าเพราะต้นทุนในการทำงานต่อวันถูกกว่าและความแม่นยำยังมีความใกล้เคียงกันอีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632007 ยศนันทน์ สุวรรณ.pdf | 2.56 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.