Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74170
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ แก้วโมราเจริญ | - |
dc.contributor.author | ศรัณย์ มุ่งสุจริตการ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-10-02T01:00:07Z | - |
dc.date.available | 2022-10-02T01:00:07Z | - |
dc.date.issued | 2021-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74170 | - |
dc.description.abstract | The construction pollution is mixing from particles matter in both 10 microns (PM 10) and 2.5 microns (PM 2.5). The research studies factors affecting particle matters from construction focusing only on PM 2.5 from several construction activities. HandheldPM 2.5 sensors were used measuring at differing distances, time delays, temparature, and humidity from six construction activities. The testing activities were tiles cutting, ceiling finishing, masonry, concrete chiselling, floor finishing, and floor cleaning and dusting. The activity contributed most PM 2.5 were tile cutting. Distances from the construction spots and time delays activities provides inverse relationship to the concentration of the PM 2.5. Only concrete chisel provides concentration of PM 2.5 after the long period of time. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อค่าฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน จากกิจกรรมในงานก่อสร้างอาคารบ้านพักอาศัย | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting particulate matter smaller than 2.5 microns from residential building construction activities | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ฝุ่น -- การวัด | - |
thailis.controlvocab.thash | มลพิษทางอากาศ | - |
thailis.controlvocab.thash | การสร้างบ้าน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | มลพิษที่เกิดจากการก่อสร้างมาจากทั้งฝุ่นละอองขนาด 10 ไมครอน (PM 10) และ 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ผสมผสานกัน ซึ่งในการศึกษานี้เป็นการศึกษาเหตุปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดค่าฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ในงานก่อสร้างเท่านั้น โดยทำการศึกษาในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินในการก่อสร้าง ทำการวัดโดยใช้อุปกรณ์วัดแบบพกพาและวัดโดยมีปัจจัยด้านระยะห่างระยะเวลา อุณหภูมิ และความชื้น ที่แตกต่างกัน จาก 6 กิจกรรมในงานก่อสร้าง ได้แก่ การตัดแผ่นกระเบื้อง การขัดหรือแต่งผิวฝ่ายิปซั่ม การก่ออิฐฉาบปูน การสกัดเจาะคอนกรีต การตกแต่งผิวคอนกรีต และการปัดกวาดฝุ่นภายในอาคาร ซึ่งกิจกรรมที่ก่อให้เกิดค่าฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน มากที่สุด ได้แก่ การตัดแผ่นกระเบื้อง และพบว่า ระยะห่างการตั้งเครื่องวัด และระยะเวลาของการดำเนินกิจกรรม แปรผกผันกับความเข้มข้นของค่าฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนและพบว่ามีเพียงกิจกรรมการสกัดเจาะคอนกรีตเท่านั้น ที่ก่อให้เกิดความเข้มข้นของค่าฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอนมากขึ้น เมื่อระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632009 ศรัณย์ มุ่งสุจริตการ.pdf | 3.9 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.