Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74108
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรัลนุช ภู่พิสิฐ | - |
dc.contributor.author | ปัจทมาพร แก้วตุ่น | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-18T07:02:53Z | - |
dc.date.available | 2022-09-18T07:02:53Z | - |
dc.date.issued | 2021-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74108 | - |
dc.description.abstract | The wastewater treatment system from the canteen of Hana Microelectronics Public Company Limited Branch 2 is designed using the biological wastewater treatment process with the IFAS process. The current system operation is not suitable for the actual amount of wastewater entering the system that is 10 times smaller than the designed one, resulting in excessive consumption of operating costs. The objective of this independent study was to determine the suitable sludge age for treating the current canteen wastewater. Experiments were carried out using a non-recirculating sludge-free laboratory reactor. The sludge retention time was set at 5, 10, and 15 days. The system was operated using canteen wastewater with an average total BOD of 164 mg/ l. The results showed that the sludge retention time at 5, 10. and 15 days had 94.98, 97.29, and 96.32 percent of BOD removal efficiency, respectively. The BOD removal efficiency of the three sludge retention times was not significantly different at the 0.05 level. The effluent of the 3 sludge retention times had BOD values not exceeding the set settlement standards, less than 20 mg/l. The results show that the sludge retention period of 5 days is sufficient for the current Hana canteen wastewater treatment to pass the standard. At 5 days of sludge retention time requires 1.66 kg of oxygen per day, and produces 0.11 cubic meters of sludge disposal rate per day for the current rate of wastewater entering the system at 13 cubic meters per day. At 10 and 15 days of sludge ฉ retention time, the amount of oxygen required increases 1.17 and 1.27 time of that of 5-day, but the sludge disposal rates reduce 1.23 and 1.49 times of that of 5-day, respectively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | กระบวนการไอเอฟเอเอส | en_US |
dc.subject | อายุสลัดจ์ | en_US |
dc.title | การหาอายุสลัดจ์ที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียโรงอาหาร โดยกระบวนการไอเอฟเอเอส | en_US |
dc.title.alternative | Determination of suitable sludge age for canteen wastewater treatment by IFAS process | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | น้ำเสีย -- การบำบัด | - |
thailis.controlvocab.thash | กากตะกอนน้ำเสีย | - |
thailis.controlvocab.thash | การกำจัดน้ำเสีย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ระบบบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหารของ บริษัท ฮานาไมโครอิเล็กทรอนิกส์ จำกัด (มหาชน) สาขา 2 ได้ออกแบบโดยใช้กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพด้วยกระบวนการ ไอเอฟเอเอส การเดิน ระบบในปัจุบันไม่เหมาะสมกับปริมาณน้ำเสียที่เข้าระบบจริงที่มีปริมาณน้อยกว่าที่ได้ออกแบบไว้ 10 เท่า ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการเดินระบบมากเกินความจำเป็น การค้นคว้าอิสระนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาอายุสลัดจ์ที่เหมาะสมสำหรับการบำบัดน้ำเสียโรงอาหารที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน ทำการทดลองโดยใช้ถังปฏิกรณ์ระดับห้องปฏิบัติการแบบไม่เวียนตะกอนกลับ และ กำหนดเวลากักพักตะกอนเท่ากับ 5, 10 และ 15 วัน ทำการเดินระบบโดยใช้น้ำเสียโรงอาหารที่มีค่าบี โอดีรวมเฉลี่ย 164 มก/ล. ผลการทดลองพบว่าระยะเวลากักพักตะกอนที่ 5, 10 และ 15 วันมี ประสิทธิภาพในการกำจัดบีโอดีร้อยละ 94.98, 97.29 และ 96.32 ตามลำดับ โดยประสิทธิภาพในการ กำจัดบีโอดีของเวลากักพักตะกอนทั้ง 3 มีค่าไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.5 และน้ำที่ผ่านการ บำบัดทั้ง 3 เวลากักพักตะกอนมีค่าบีโอดีผ่านมาตรฐานการนิคมที่กำหนดไว้นั่นคือน้อยกว่า 20 มก/ล. จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่าที่ระยะเวลาการกักพักตะกอนที่ 5 วัน เพียงพอสำหรับการบำบัด น้ำเสียจากโรงอาหารของบริษัท ฮาน่าในปัจจุบันให้ผ่านมาตรฐาน โดยจะมีปริมาณออกซิเจนที่ ต้องการ 1.66 กก.ออกซิเจนต่อวัน และมีอัตราการทิ้งสลัดจ์ 0.11 ลบ.ม.ต่อวัน สำหรับอัตราน้ำเสียเข้า ระบบ ณ ปัจจุบันที่ 13 ลบ.ม.ต่อวัน ที่เวลากักพักตะกอน 10 วัน และ 15 วัน ระบบจะต้องการปริมาณ ออกซิเจนเพิ่มขึ้น 1.17 และ 1.27 เท่าของที่เวลากักพักตะกอน 5 วัน แต่ระบบจะมีปริมาณสลัดจ์ที่ต้อง กำจัดทิ้งลดลง 1.23 และ 1.49 เท่าของที่เวลากักพักตะกอน 5 วัน ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632050 ปัจทมาพร แก้วตุ่น.pdf | 4.65 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.