Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74093
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิกานต์ ศรีนารา-
dc.contributor.authorจิณห์วรา ช่วยโชติen_US
dc.date.accessioned2022-09-14T01:07:16Z-
dc.date.available2022-09-14T01:07:16Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74093-
dc.description.abstractThe social political context of Thailand directly affects the change in political thinking of Isan writers in literature. During the 1 970s to 2007, importantly in the beginning, Isan writers as a whole presented political ideas with a similar perspective. The focus was on criticizing governmental development policies. There was criticism towards the modernity of the city that affected the way of life and local culture in Isan villages, also towards attacks on politicians and on street politics. Ideas on community culture had become stronger within rural communities As a result, the overall proposals of Isan writers at this time were consistent and harmonious. However, the political thought of Isan writers began to differ markedly in the decade from 2007 onwards, due to the reaction to the political conflict. This makes Isan writers want to redefine the meaning of "Isan" through individual writings and magazines that clearly differ in content. "Chaikha Rueang Sam" focuses on structured politics and "Thang E-San" believes in culture rather than outright consideration of politics. Therefore, the social political context is the most important factor that differentiated the political thinking of Isaan writers in the decade after 2007.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงความคิดทางการเมืองในงานวรรณกรรมของนักเขียนอีสานระหว่างทศวรรษ 2530 – 2550en_US
dc.title.alternativeChanging of political thoughts in literary works by Isan writers between the 1990’s - 2000’sen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนักประพันธ์ -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashวรรณกรรมการเมือง-
thailis.controlvocab.thashการเขียนหนังสือ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบริบททางสังคมการเมืองไทยส่งผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสานในงานวรรณกรรม ระหว่างทศวรรษ 2530 - 2550 อย่างสำคัญ ในช่วงแรกนั้น นักเขียนอีสานโดยรวมเสนอความคิดทางการเมืองไปในทิศทางเดียวกัน นั่นก็คือการมุ่งเน้นวิพากษ์วิจารณ์นโยบายการพัฒนาของภาครัฐ ต่อต้านความทันสมัยจากในเมืองที่ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านอีสาน โจมตีนักการเมือง และการเมืองบนท้องถนน กระแสความคิดวัฒนธรรมชุมชนที่สุกงอมออกมา ยังผลให้ข้อเสนอโดยรวมของนักเขียนอีสานในห้วงเวลานี้สอดคล้องและสอดรับไปด้วยกัน อย่างไรก็ตามความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสานเริ่มแตกต่างกันอย่างชัดเจนในทศวรรษ 2550 เนื่องจากปฏิกิริยาของความขัดแย้งทางการเมืองที่เกิดขึ้น ทำให้นักเขียนอีสานต้องการจะนิยามความหมายของ "อีสาน" ใหม่ ผ่านงานเขียนเชิงปัจเจกและการทำนิตยสารที่มีเนื้อหาแตกต่างกันอย่างชัดเจนคือ "ชายคาเรื่องสั้น" ซึ่งมุ่งเน้นที่การเมืองในระดับโครงสร้าง และ อีกฉบับคือนิดยสาร "ทางอีศาน" เชื่อมั่นในวัฒนธรรมมากกว่าการพิจารณาไปที่การเมืองอย่างตรงไปตรงมา ดังนั้นบริบททางสังคมการเมืองจึงเป็นปัจจัยหลักและสำคัญที่ส่งผลให้ความคิดทางการเมืองของนักเขียนอีสานในทศวรรษ 2550 นั้นแตกต่างกันen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131007 จิณห์วรา ช่วยโชติ.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.