Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74078
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Daruni Naphrom | - |
dc.contributor.author | Chaorai Kanchanomai | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-03T06:05:27Z | - |
dc.date.available | 2022-09-03T06:05:27Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74078 | - |
dc.description.abstract | Plant growth regulators (PGRs) have various effects on table grape qualities such as firmness, soluble solids content (SSC), pH, titratable acidity (TA) and especially seedlessness. The conventional method for fruit qualities is sample destructive, cost and time consuming. Therefore, the new method Near Infrared Spectroscopy (NIRS) technique was studied. The experiments were done at aMonsoon Valley vineyard, Prachuab Khiri Khan province and Chaofah vineyard, Chiang Rai province, Thailand. The seeded and seedless treatments were applied with PGRs to the intact inflorescences of ‘White Malaga’ table grapes by soaking. The seeded treatment was without PGR application (Tr.1), while seedless treatments were applied with the first and second application at the 14 days before flowering and flowering stage with either 25 mg/L gibberellic acid (GA3) and the third application was 14 days later on pea stage with 25 mg/L GA3, 5 mg/L cytokinins (CKs) and 1 mg/L brassinosteroids (BRs) (Tr. 2, 3 and 4, respectively). A total of 280 berry samples were analysed. The experimental design is Completely Randomized Design (CRD) with 10 replications and 4 treatments (an experimental unit is 1 cluster). Plant Growth Regulators (PGRs), GA3, CKs and BRs, have effects on table grapes such as fruit qualities and seedlessness. The width and weight of untreated treatment were significantly higher than PGRs treatment, while the length, firmness, TA and tartaric acid were not significantly different. SSC and pH of treatments which applied CKs and BRs were lower than other treatments as a result of late development. The GA3 application has obvious effects on seedless grapes while the BRs treatment yielded seeded grapes. After PGRs application on grape clusters, the expression of certain seedlessness genes was studied but the RNA extraction was obstructed in secondary metabolite. The results showed low quality of RNA which cannot study gene expression in next step. The development of RNA extraction on ‘White Malaga’ table grapes for termination the secondary metabolite needs to be done. Near infrared spectroscopy (NIRS) technique is the non-destructive determination for fruit quality analysis. The interactance mode of wavelength 800-1100 nm. is well suited for evaluating the internal grape quality parameters. Good prediction models were achieved for SSC, seedlessness and TA, and promising results were also obtained for pH-value and firmness. NIRS with suitable chemometric analysis successfully identified seedlessness in ‘White Malaga’ table grapes. The performance of several classification methods was compared. Quadratic Discriminant Analysis (QDA), possessing the predictive ability of linear modelling, provided the best classification results. The development of an NIR-chemometric model could be used to non-destructively detect and quantify the number of seeds in ‘White Malaga’ table grapes. SSOM is a very good technique for classification of the treatments. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Effects of plant growth regulators on fruit qualities and quality detection in table grapes using Near Infrared Spectroscopy | en_US |
dc.title.alternative | ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชต่อคุณภาพผลและการตรวจสอบคุณภาพในองุ่นบริโภคผลสด โดยวิธีเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Grapes -- Growth | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Grapes -- Quality control | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Growth (Plants) | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Infrared spectroscopy | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช เช่น จิบเบอเรลลิน ไซโทไคนิน และบราสซิโนสเทอรอยด์ มีผลต่อคุณภาพผลองุ่นทานสด เช่น ความแน่น ความหวาน ความเป็นกรดด่าง ปริมาณกรด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการไร้เมล็ด การตรวจสอบคุณภาพเหล่านี้โดยวิธีปรกติต้องทำลายตัวอย่าง ใช้ต้นทุนสูง และใช้เวลานาน ดังนั้นการตรวจสอบคุณภาพแบบใหม่ คือการตรวจโดยวิธีเนียร์อินฟราเรด สเปกโทรสโกปี จึงถูกคิดค้นศึกษาขึ้น โดยทำการทดลองที่ไร่องุ่นมอนซูน วัลเลย์ จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ และสวนองุ่นชาวฟ้า จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย ให้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกับช่อดอกองุ่นพันธุ์ไวท์มะละกาที่สมบูรณ์โดยการจุ่มทั้งช่อดอก กรรมวิธีที่1 เป็นกรรมวิธีสำหรับองุ่นมีเมล็ด โดยไม่ให้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ในขณะที่กรรมวิธีที่ทำองุ่นไร้เมล็ดจุ่มกรดจิบเบอเรลลิก ความเข้มข้น 25 มิลลิกรัมต่อลิตร 2 ครั้ง โดยครั้งแรกก่อนดอกบาน 14 วัน และครั้งที่ 2ในช่วงดอกบาน หลังจากนั้น 14 วัน จุ่มสารควบคมการเจริญเติบโตของพืชครั้งที่ 3 โดยใช้กรดจิบเบอเรลลิก 25 มิลลิกรัมต่อลิตร ไซโทไคนิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร และบราสซิโนสเทอรอยด์ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นกรรมวิธีที่ 2 3 และ 4 ตามลำดับ เก็บเกี่ยวผลองุ่นจำนวน 280 ผล เพื่อวัดผลการทดลองนี้ โดยออกแบบการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) 4 กรรมวิธี 10 ซ้ำ กรดจิบเบอเรลลิก ไซโทไคนิน และบราสซิโนสเทอรอยด์ เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ที่มีผลต่อคุณภาพของผลองุ่นทานสดและการไร้เมล็ด ความกว้างและน้ำหนักของผลองุ่นบริโคสดในกรรมวิธีควบคุมจะสูงกว่ากรรมวิธีที่ได้รับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ในขณะที่ความยาว ความแน่นเนื้อ ปริมาณกรดทั้งหมด และกรดทาทาริก ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ความหวานและค่าความเป็นกรดด่างในกรรมวิธีที่ได้รับไซโทไคนินและบราสซิโนสเทอรอยด์มีค่าต่ำกว่ากรรมวิธีอื่น เนื่องจากมีการพัฒนาของผลที่ช้า การให้กรดจิบเบอริลิกทำให้เกิดการไร้เมล็ดอย่างชัดเจน ตรงข้ามกับการให้บราสซิโนสเทอรอยด์ ซึ่งยังพบการมีเมล็ด ในงานทดลองนี้หลังจากให้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกับช่อดอกองุ่นบริโภคสดแล้ว มีการตรวจสอบการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการไร้เมล็ด พบว่าการสกัดอาร์เอนเอขององุ่นมีอุปสรรคในส่วนของสารประกอบบางประการ (secondary metabolite) ที่ทำให้การสกัดอาร์เอนเอมีคุณภาพต่ำไม่สามารถศึกษาการแสดงออกของยีนได้ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาหาวิธีการสกัดในการกำจัด secondary metabolite สำหรับการสกัดอาร์เอ็นเอองุ่นพันธุ์ไวท์มะละกาต่อไป เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี เป็นวิธีการตรวจสอบคุณภาพผลไม้ โดยไม่ทำลายตัวอย่าง การใช้ช่วงความยาวคลื่น 800-1100 นาโนเมตร โดยวิธีอินเทอร์แอกแทนซ์ เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการวิเคราะห์คุณภาพขององุ่นบริโภคสด การทำนายให้ผลลัพท์ระดับดีสำหรับความหวาน การไร้เมล็ด และปริมาณกรดทั้งหมด และการทำนายให้ผลลัพท์ระดับพอใช้สำหรับความเป็นกรดด่าง และความแน่นเนื้อของผลองุ่น การใช้วิธีวิเคราะห์เนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์แบบเคโมเมทริกซ์ สามารถวิเคราะห์ผลของการไร้เมล็ดในองุ่นบริโภคสดพันธุ์ไวท์มะละกาได้เป็นอย่างดี การจำแนกแบ่งกลุ่มโดยวิธี Quadratic Discriminant Analysis (QDA) สามารถทำนายผลจากสมการเส้นตรงได้ และยังสามารถตรวจสอบจำนวนเมล็ดในผลองุ่นพันธุ์ไวท์มะละกาได้โดยไม่ทำลายตัวอย่าง การทำแผนที่ Supervised Self Organizing Map (SSOM) เป็นเทคนิคที่ดีที่สุด สำหรับการจัดกลุ่มในการทดลองนี้ | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesis-Chaorai-31-08-65.pdf | Thesis_Chaorai Kanchanomai | 4.2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.