Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงศักดิ์ รินชุมภู-
dc.contributor.authorชวิศ มหาวรรณen_US
dc.date.accessioned2022-08-21T01:18:47Z-
dc.date.available2022-08-21T01:18:47Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73985-
dc.description.abstractIn order to reduce the amount of runoff, there are several ways to reduce the environmental impact of low impact development (LID). This research has chosen a management approach to reduce the amount of runoff with green roofs because there is no need to use a limited land area for management. Based on the analysis of the area on the roof of the 30 years building, Faculty of Engineering, Chiang Mai University, Chiang Mai Province, which is the public and large buildings. By comparing the original base case and the case that developed as a green roof, a total of 5 cases were compared with the Green Stormwater Infrastructure Plug-in (GSI Plug-in) computer simulation program in Autodesk Infraworks to be alternative approaches for the construction of green roofs to have the potential to reduce the amount of runoff. By choosing different materials, properties and sizes. Therefore, the runoff reduction potential can be summarized as the cost of constructing green roofs. The result was a third alternative approach (GR-3) compared with the original base case by using the cost of structural layer materials: Depth of potting soil B = 4 inches, the porosity of potting soil material (C) = 25 percent. The depth of the drainage layer D = 2 inches and the porosity of the drainage material (E) = 95 percent will be able to reduce the runoff volume by 0.02 inches, a 99 percent reduction in Runoff ratio with BMP area. The area is 100 percent covering the entire area. As for the price, the construction cost is 826,800.00 baht, and the water intake capacity per construction cost is -0.35 inches/baht, which is the best choice for the runoff reduction potential. Keywords: Green Roof, Runoff Absorption, Best Management Practices (BMP), Construction Costen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ศักยภาพการรับน้ำท่าต่อต้นทุนค่าก่อสร้างหลังคาเขียวen_US
dc.title.alternativeAnalysis of stormwater runoff absorption potential per construction cost of green roofen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหลังคา -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashหลังคา -- ต้นทุน-
thailis.controlvocab.thashหลังคาเขียว (การทำสวน)-
thailis.controlvocab.thashการจัดการน้ำ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการลดปริมาณน้ำท่านั้นมีแนวคิดการพัฒนาเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม Low impact development (LID) มีหลากหลายวิธี ซึ่งงานวิจัยนี้ได้เลือกใช้แนวทางการจัดการเพื่อลดปริมาณน้ำท่าด้วยหลังคาเขียว (Green roof) เนื่องจากไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่ดินที่จำกัดในการจัดการ จากการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองของพื้นที่ในส่วนของหลังคาชั้นดาดฟ้าอาคาร 30 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นอาคารประเภทอาคารสาธารณะและอาคารขนาดใหญ่ โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างกรณีฐานเดิม(Base case) กับกรณีที่พัฒนาเป็นพื้นที่หลังคาเขียว(Green roof) เปรียบเทียบทั้งสิ้นจำนวน 5 กรณี ด้วยโปรแกรมจำลองทางคอมพิวเตอร์ Green Stormwater Infrastructure Plug-in (GSI Plug-in) ใน Autodesk Infraworks เพื่อเป็นแนวทางเลือกในการก่อสร้างหลังคาเขียวให้มีศักยภาพในการลดปริมาณน้ำท่า ด้วยการเลือกใช้วัสดุ คุณสมบัติ และขนาดต่าง ๆ กัน จึงสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพการรับน้ำท่าต่อต้นทุนค่าก่อสร้างหลังคาเขียว ได้ผลลัพธ์เป็นกรณีที่ 3 แนวทางเลือก (GR-3) เปรียบเทียบกับกรณีฐานเดิม (Base case) โดยใช้ค่าวัสดุชั้นโครงสร้าง ดังนี้ ความลึกชั้นดินปลูก B = 4 นิ้ว, ความพรุนวัสดุดินปลูก(C) = 25 เปอร์เซ็น, ความลึกของชั้นระบายน้ำ D = 2 นิ้ว และความพรุนวัสดุระบายน้ำ(E) = 95 เปอร์เซ็น จะสามารถลดปริมาณน้ำท่า(Runoff) ลงได้ 0.02 นิ้ว เป็นสัดส่วน Runoff ที่ลดลงได้ 99 เปอร์เซ็น มีพื้นที่ BMP Area เป็น 100 เปอร์เซ็น ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด ในส่วนราคาต้นทุนค่าก่อสร้าง เท่ากับ 826,800.00 บาท ได้ศักยภาพการรับปริมาณน้ำท่าต่อต้นทุนค่าก่อสร้าง คิดเป็น -0.35 นิ้ว/บาท เป็นแนวทางเลือกที่มีศักยภาพในการรับน้ำท่าได้ดีที่สุด คำสำคัญ: หลังคาเขียว, ศักยภาพการรับน้ำท่า, แนวทางการจัดการที่ดี (BMP), ต้นทุนค่าก่อสร้างen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.