Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73971
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นทัต อัศภาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐวัฒน์ คำลือ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T08:01:51Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T08:01:51Z | - |
dc.date.issued | 2022-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73971 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to develop learning unit of accounting subject by integrating 5Ws 1H questioning technique with career learning stations for the 12th grade accounting program students. 2) To study students’ learning achievement of accounting subject after using integrating 5Ws 1H questioning technique career learning stations and 3) to study students’ accounting skill after using integrating 5Ws 1H questioning technique career learning stations. The populations of this research were 5 specialists of curriculum and career teaching and 11 students in the 12th grade at Suksasongkhro Chiang Mai School during the second semester of the academic year 2021. The research tools were learning unit evaluation form, a learning achievement test form, and an accounting skill test form. Data were analyzed by using means, percentages and standard deviations. The study results revealed that: 1) For accounting students in the 12th grade, there are two units of learning units of accounting subject by integrating 5Ws 1H questioning technique with career learning stations, which consist of 1) unit name 2) structural unit 3) learning activity 4) evaluation and 5) lesson plans. The overall quality assessment of the learning unit was excellent. (mean = 4.80, standard deviation = 0.45) 2) The students’ learning achievement after learning units of accounting subject by integrating 5Ws 1H questioning technique with career learning stations was 76.62%, which was above the expected 70%. 3) The students’ accounting skill after learning units of accounting subject by integrating 5Ws 1H questioning technique career learning stations were 96.67%, which was above the expected 70 %. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ วิชาการบันทึกบัญชี ด้วยการบูรณาการ เทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาขาบัญชี | en_US |
dc.title.alternative | Developing learning unit of accounting by integrating 5ws 1h questioning technique with career learning stations for grade 12 accounting program students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การบัญชี | - |
thailis.controlvocab.thash | การบัญชี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียน | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาขั้นมัธยม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ วิชาการบันทึกบัญชี ด้วยการบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาขาบัญชี 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบันทึกบัญชี ของนักเรียนหลังเรียนด้วยหน่วยการเรียนรู้การบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ และ 3) เพื่อศึกษาทักษะการบันทึกบัญชี ของนักเรียนหลังเรียน ด้วยหน่วยการเรียนรู้การบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอนงานอาชีพ จำนวน 5 ท่าน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาขาบัญชี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เชียงใหม่ จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบประเมินหน่วยการเรียนรู้ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดทักษะการบันทึกบัญชี โดยนำผลข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) หน่วยการเรียนรู้วิชาการบันทึกบัญชี ด้วยการบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาขาบัญชีที่พัฒนาขึ้นมีทั้งหมด 2 หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2) โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ 3) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ 5) แผนการจัดการเรียนรู้ และผลประเมินคุณภาพหน่วยการเรียนรู้โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.80 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.45) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียนจากหน่วยการเรียนรู้วิชาการบันทึกบัญชี ด้วยการบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ คิดเป็น ร้อยละ 76.62 อยู่ในคุณภาพดีมาก สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนด 3) ทักษะการบันทึกบัญชีของนักเรียน หลังเรียนจากหน่วยการเรียนรู้วิชาการบันทึกบัญชี ด้วยการบูรณาการเทคนิคการใช้คำถาม ไฟว์ ดับบลิว วัน เอช กับฐานการเรียนรู้เชิงอาชีพ คิดเป็น ร้อยละ 96.67 อยู่ในคุณภาพดีเยี่ยม สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630232063 ณัฐวัฒน์ ลงลายน้ำ 8สค.65.pdf | 12.55 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.