Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73970
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorเจนจิรา ปี่แก้วen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T07:54:10Z-
dc.date.available2022-08-20T07:54:10Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73970-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to compare the ability of Problem-Solving thinking of grade 11 business program students and 2) to study entrepreneurship characteristic of grade 11 business program students after work-based learning provision. The population of this study were 42 students in grade 11 business program, Tak Pittayakom in Tak province. The tools used for collecting data were 1) lesson plans of work-based learning in modern trade Business management subject 2) evaluation from problem solving thinking ability 3) evaluation from entrepreneurship characteristic. Data were analyzed by using means, standard deviations and developmental percentages. The study results revealed that: 1) The result of percentage in pre and post of learning provision by problem-solving thinking ability of grade 11 business program students was 90.99 of developmental percentage which was higher than the criteria of 70%. 2) The result of entrepreneurship characteristic of grade 11 business program students after learning management by problem-solving thinking ability in 2 aspects was 3.88 of overall mean which was the highest.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐานที่มีต่อความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาและคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักเรียน แผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeEffect of work-based learning provision on problem-solving thinking ability and entrepreneurship characteristic of grade 11 business program studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการเรียนแบบมีส่วนร่วม-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจศึกษา-
thailis.controlvocab.thashศิลป์ธุรกิจ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนแผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐาน และ 2) เพื่อศึกษาคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักเรียนแผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ จำนวน42 คน ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนตากพิทยาคม อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐาน รายวิชา การจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ 2) แบบประเมินความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และ 3) แบบประเมินคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละพัฒนาการ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนแผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐาน มีค่าร้อยละพัฒนาการเท่ากับ 90.99 พัฒนาการอยู่ในระดับสูงมากและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนด 2) ผลการศึกษาคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการของนักเรียนแผนการเรียนศิลป์ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทำงานเป็นฐานทั้ง 2 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.88 อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232061 เจนจิรา ลงลายน้ำ 8สค.65.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.