Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73951
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรัสวดี อ๋องสกุล-
dc.contributor.advisorกนกพร นุ่มทอง-
dc.contributor.authorซินเป้ย หลูen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T05:11:23Z-
dc.date.available2022-08-20T05:11:23Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73951-
dc.description.abstractThis paper aims to study the similarities and differences of women's women's rights under Lan Na law and Chinese law during the 14th and 17th centuries. The researcher divides the rights into right to life and body, right to honor and property rights. The research found that Lan Na law is a traditional law and is influenced by Buddhism. The Chinese law of the Ming dynasty is influenced by Confucianism. In addition, the punishment system of Lan Na law and Ming dynasty Chinese law is clearly different. In the Lan Na law, most of the punishment is imposing a fine. However, there’s a set of Five Punishment (wuxing五刑) in the Chinese law of the Ming dynasty and the punishment is also considered by a five-level system of mourning, known as "wufu" (五服). For the right to life and body, Chinese women do not have rights and freedoms in marriage and divorce, but Lan Na women can choose to marry or divorce their husbands as they like. When the case of smuggling or raping or assaulting a woman, both the Lan Na law and the Chinese law provide protection and compensation for the victims. When a woman becomes an adulterer or a man in the family commits a serious crime, both the Lan Na law and the Chinese law severely punish women. For the right to fame or honor, both the Lan Na and the Chinese law protect women and compensate for the injuries. For property rights, Lan Na women have more rights to inherit from their parents than men and fully inherited the inheritance of her husband, but Chinese women generally do not have the right to inherit from their parents. When husband dies, Chinese women often become custodians of their husbands' estates on behalf of their children or adoptive children. For property management right, Lan Na women are generally able to share more property than their husbands after divorce. They can also judge their inheritance and have the right in the case of debt. However, Chinese women are at a disadvantage after divorcing their husbands. In addition, they are unable to divide assets and unable to manage their capital before marriage. The Chinese law also does not clearly show that Chinese women can borrow a debt or not.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสิทธิของสตรีen_US
dc.subjectกฎหมายล้านนาen_US
dc.subjectกฎหมายจีนen_US
dc.subjectล้านนาen_US
dc.subjectราชวงศ์หมิงen_US
dc.titleการเปรียบเทียบสิทธิของสตรีตามกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 – 17en_US
dc.title.alternativeComparative study of female rights under the Lan Na and Chinese law during the 14th – 17th centuriesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสิทธิสตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashสิทธิสตรี -- จีน-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- จีน-
thailis.controlvocab.thashกฎหมาย -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashกฎหมาย -- จีน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคล้ายและความแตกต่างของสิทธิสตรีตามกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 – 17 ผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นหลักเป็นสิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในชื่อเสียง เกียรติยศและสิทธิในทรัพย์สิน ผลการศึกษาพบว่า กฎหมายล้านนาเป็นกฎหมายจรีตประเพณีและได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก ส่วนกฎหมายจีนราชวงศ์หมิงได้รับอิทธิพลจากลัทธิขงจื่อ นอกจากนี้ ระบบการลงโทษของกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนราชวงศ์หมิงมีความแตกต่างอย่างชัดเจน กฎหมายล้านนาส่วนใหญ่ลงโทษด้วยการปรับไหม กฎหมายราชวงศ์หมิงได้กำหนดระบบการลงโทษเป็น “อู่สิง” (wuxing 五刑) อีกทั้งการลงโทษยังพิจารณาโดยระบบการไว้ทุกข์ 5 ระดับ เรียกว่า “อู่ฝู” (五服) สำหรับสิทธิในชีวิตและร่างกาย สตรีจีนไม่มีสิทธิและเสรีภาพในกรณีการเลือกคู่และการหย่า แต่สตรีล้านนาสามารถเลือกคู่หรือหย่าขาดกับสามีตามใจชอบ เมื่อเกิดกรณีการลักลอบผู้หญิง การข่มขืนหรือการทำร้ายร่างกาย ทั้งกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนได้ปกป้องคุ้มครองและให้ผู้เสียหายได้รับการชดใช้ เมื่อเกิดกรณีมีชู้หรือกรณีผู้ชายในครอบครัวทำผิดร้ายแรง ทั้งกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนลงโทษสตรีอย่างหนัก สำหรับสิทธิในชื่อเสียง เกียรติยศ ทั้งกฎหมายล้านนาและกฎหมายจีนได้ปกป้องสตรี และชดใช้ผู้เสียหาย สำหรับสิทธิในทรัพย์สิน สตรีล้านนามีสิทธิสืบทอดมรดกจากพ่อแม่มากกว่าชาย และสืบทอดมรดกของสามีอย่างเต็มที่ แต่สตรีจีนโดยทั่วไปไม่มีสิทธิสืบทอดมรดกจากพ่อแม่ เมื่อสามีเสียชีวิต สตรีจีนมักกลายเป็นผู้ดูแลมรดกของสามีแทนลูกหรือลูกบุญธรรม สำหรับสิทธิในการจัดการทรัพย์สิน สตรีล้านนาโดยทั่วไปสามารถแบ่งทรัพย์สินมากกว่าสามีหลังจากหย่าขาดกัน อีกทั้งยังสามารถตัดสินมรดกของตนสืบทอดแก่ใคร และมีสิทธิไม่แพ้ชายในกรณีกู้หนี้ ส่วนสตรีจีนเป็นฝ่ายเสียเปรียบหลังจากหย่าขาดกับสามี นอกจากไม่สามารถแบ่งทรัพย์สินได้ ยังไม่สามารถจัดการทุนของตนก่อนแต่งงาน สตรีจีนสามารถกู้หนี้หรือไม่ กฎหมายจีนไม่ได้แสดงอย่างชัดเจนen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
XINBEI-LU-2 副本-3 ลายน้ำ.pdf2.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.