Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73929
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิกา แซ่ลิ่ว | - |
dc.contributor.advisor | เยาวเรศ เชาวพูนผล | - |
dc.contributor.author | ปริศนา ต๊ะต้นยาง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-19T10:12:17Z | - |
dc.date.available | 2022-08-19T10:12:17Z | - |
dc.date.issued | 2020-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73929 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study were to study the Phulae pineapple market system and to study factors affecting consumers’ decision making to purchase Phulae pineapple in chiang rai province. The study processed by interview 4 entrepreneurs and collecting questionnaires from 372 consumers then analyzed by descriptive statistics, frequency, percentage, likert scale and test the relationship with chi-square. The results of the study showed that Phulae pineapple market system in chinang rai province was centrally distributed. Phulae pineapple transporting from farm to market in chiang rai and upcountry including Chinese market. After harvesting farmer transport produce to large entrepreneurs 80 % through the general operator to peel 10 %. Product was transported to the community enterprise group 15 % and farmer own retail 5%. Characteristics of products sold include pineapple and peeled pineapple. The main market is the Chinese market. Most of the consumer characteristics are female, age 21-40 years old, graduated with a bachelor's degree, monthly income 10,001 - 30,000 baht, and working as businessman and government official. Consumer purchasing characteristics is buy less than 1 kg, average purchase frequency once a month and the cost of each purchase is less than 50 baht. The reason for the purchase is consumer preferences. Time to purchase is lunch time since 12.00 to 16.00 hrs, Phulae pineapple distribution points such as the street market on Phaholyothin road and a fruit cart. In addition, consumers also buy Phulae pineapples for special occasions such as the New Year festival and Songkran Festival.According the decision process to buy Phulae pineapples, the consumer will ask for information from the seller and search information from internet. After consumers buy Phulae pineapples, they often advise others to buy because Phulae pineapples are different from other pineapples. The results also showed that marketing mix that affecting purchasing decisions form this study are equal importance including price products, distribution channels and marketing promotions. The relationship between demographic characteristics, gender, age, occupation and income on the purchasing behavior of Phulae pineapples were tested by Chi Square statistics. The results showed that gender was correlated with the purchasing behavior of consumers such as purchase frequency and where consumers buy. Test results for the relationship between age and consumers' purchasing behavior showed that Pineapple purchase quantity, frequency, and cost of each purchase are related with age of the consumer. In terms of occupation and purchasing behavior, there was a relationship between Pineapple purchase quantity, frequency, and cost of each purchase. The results suggested that producer should study the market system and marketing channel to planning production in accordance with the market situation and consumer demand. In addition, entrepreneurs should focus on the marketing mix and understand the purchasing behavior of consumers. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสับปะรดพันธุ์ภูแลของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting consumers’ decision making to purchase Phulae pineapple in Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สับปะรด -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงราย | - |
thailis.controlvocab.thash | การเลือกของผู้บริโภค -- เชียงราย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบตลาดสับปะรดพันธุ์ภูแล และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสับปะรดพันธุ์ภูแลของผู้บริโภค ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ 16 ราย และแบบสอบถามจากผู้บริโภคตัวอย่าง 372 ราย นำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ บรรยายประกอบ จัดลำดับความสำคัญด้วยมาตราวัดของลิเคิร์ท และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่าระบบตลาดสับปะรดภูแลจังหวัดเชียงรายเป็นแบบกระจายออกจากศูนย์กลาง โดยขนส่งจากแหล่งผลิตเข้าสู่ตลาดในจังหวัดและต่างจังหวัด รวมถึงต่างประเทศ วิถีการตลาดเมื่อผลผลิตออกจากเกษตรจะถูกรวบรวมโดยผู้ประกอบการขนาดใหญ่ร้อยละ 80 โดยจ้างผู้ประกอบการทั่วไปเพื่อปอกร้อยละ 10 ส่วนการจำหน่ายของผู้ประกอบการที่เป็นวิสาหกิจชนชุมชนคิดเป็นร้อยละ 15 และผู้ประกอบการที่เป็นเกษตรกรร้อยละ 5 รูปแบบสินค้าที่จำหน่ายมีทั้งสับปะรดทั้งเปลือก และสับปะรดแบบปอก มีตลาดหลักเป็นตลาดในประเทศจีน ส่วนของลักษณะของผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21- 40 ปีจบการศึกษาระดับปริญญาตรีซึ่งเป็นวัยทำงานมีระดับรายได้ประมาณเดือนละ 10,001 – 30,000 บาท ประกอบอาชีพธุรกิจค้าขาย และข้าราชการ ลักษณะการซื้อของผู้บริโภคจะซื้อครั้งละน้อยกว่า 1 กิโลกรัม เฉลี่ยเดือนละครั้ง และค่าใช้จ่ายต่อครั้งน้อยกว่า 50 บาท โดยมีเหตุผลในการซื้อของผู้บริโภค คือชอบรับประทานสับปะรดภูแล ช่วงเวลาในการซื้อส่วนใหญ่คือช่วง เวลา 12.00 – 16.00 น. ซึ่งจะสามารถเจอจุดจำหน่ายสับปะรดภูแลได้ทั่วไป เช่น ตลาดสด ริมทางถนนพหลโยธิน และรถเข็นขายผลไม้ นอกจากช่วงเวลาปกติแล้วผู้บริโภคยังซื้อสับปะรดภูแลในโอกาสพิเศษ เช่นช่วงเทศกาล งานพิธีสำคัญตามประเพณีของไทย ยกตัวอย่างเช่น ปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ วิธีการเลือกซื้อสับปะรดผู้แลที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่เลือกใช้คือ การสอบถามข้อมูลจากผู้ขาย และหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ผู้บริโภคส่วนใหญ่ให้ความสำคัญต่อการตัดสินใจซื้อคือ จุดจำหน่าย และเมื่อเคยซื้อสับปะรดภูแลแล้วมักจะแนะนำให้ผู้อื่นซื้อด้วยเนื่องจากสับปะรดภูแลแตกต่างจากสับปะรดทั่วไป ด้านปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ พบว่าผู้บริโภคให้ความสำคัญในระดับมากเท่ากันทั้งด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องการจัดจำหน่ายและด้านการส่งเสริมการตลาด ส่วนการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากรศาสตร์ เพศ อายุ และอาชีพ ต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสับปะรดภูแลด้วยสถิติไคสแควร์ พบว่า เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อของผู้บริโภคได้แก่ ความถี่ในการซื้อ และสถานที่ซื้อ ส่วนอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อของผู้บริโภคได้แก่ ปริมาณการซื้อต่อครั้ง ความถี่ในการซื้อ ค่าใช้จ่ายในการซื้อต่อครั้ง และสถานที่ซื้อ เมื่อพิจารณาปัจจัยด้านอาชีพพบว่ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อของผู้บริโภคได้แก่ ปริมาณการซื้อต่อครั้ง ความถี่ในการซื้อ ค่าใช้จ่ายในการซื้อต่อครั้ง และสถานที่ซื้อ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาสำหรับเกษตรกรผู้ผลิตคือ ควรศึกษาระบบตลาด วิถีการตลาดเพื่อนำไปวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับสถานการณ์การตลาดและผลิตสินค้าให้ตรงความต้องการของผู้บริโภคได้แก่ สินค้าที่มีคุณภาพดี รสชาติหวานอมเปรี้ยว เก็บเกี่ยวเมื่อสับปะรดมีเนื้อสีเหลืองทองและเพิ่มการรับรองมาตรฐานด้านการผลิตแบบ GAP ส่วนเสนอแนะสำหรับผู้ประกอบการคือ การให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดทั้ง 4 ด้าน และศึกษาพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคเพื่อนำไปกำหนดแนวทางการพัฒนากิจการต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590832007 ปริศนา ต๊ะต้นยาง.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.