Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์-
dc.contributor.advisorไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ-
dc.contributor.authorเมธาพร เฉลิมเขตต์en_US
dc.date.accessioned2022-08-11T11:28:09Z-
dc.date.available2022-08-11T11:28:09Z-
dc.date.issued2021-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73820-
dc.description.abstractThis research aimed to study the effects of Cognitive Behavior Based Group Counseling Program on Female Undergraduate Students’ Depression at a University in Chiang Mai. Using quasi-experiment research method which divided into 3 periods of evaluation: pre-experimental evaluation, post-experimental evaluation, and monitoring period. The sample were 28 female undergraduate students at a university in Chiang Mai. They were divided into 2 groups which were 14 students of experimental group and 14 students of control groups. The experimental group attended the cognitive behavior based group counseling program 7 sessions. It took 2-2.30 hours per session. Each week had one session. The research instruments consisted Thai Depression Inventory and cognitive behavior based group counseling program. The statistics used to analyze the data were descriptive statistics, t-test and One-Way Repeated Measure ANOVA. The result found that; 1. The depression of experimental group after attending group counseling program was significantly decreased at the level of .05 2. The depression of experimental group after attending group counseling program was significantly lower than control group at the level of .05 3. The depression in pre-experimental evaluation, post-experimental evaluation, and monitoring period of experimental group was significantly different at the level of .05en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรมเป็นฐานต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffects of cognitive behavior based group counseling program on female undergraduate students’ depression at a university in Chiang Maien_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความซึมเศร้า-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษาปริญญาตรี-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมบำบัดสำหรับวัยรุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้ทฤษฎีทาง ความคิดและพฤติกรรมเป็นฐานต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย แห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง วัดผล 3 ระยะคือ ระยะก่อน การทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาเพศหญิงระดับ ปริญญาตรี กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 28 คน แบ่ง เป็นกลุ่ม ทดลอง 14 คน และกลุ่มควบคุม 14 คน กลุ่มทดลองจะเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้ ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรมเป็นฐาน จำนวน 7 ครั้ง ครั้งละ 2 - 2.30 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทย และโปรแกรมการ ปรึกษาแบบกลุ่มโดยใช้ทฤษฎีทางความคิดและพฤติกรรมเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติการทดสอบค่าที่ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าลดลงกว่า ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มควบคุม ที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาแบบกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะติดตามผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132044 เมธาพร เฉลิมเขตต์.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.