Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73781
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฏิรูป ผลจันทร์ | - |
dc.contributor.author | อภิชญา ผันอากาศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-06T09:19:54Z | - |
dc.date.available | 2022-08-06T09:19:54Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73781 | - |
dc.description.abstract | Electrical and electronic industries are Thailand's important sectors with continuous growing. This growth, however, leads to several environmental problems. Hana Microelectronics Public Co., Ltd. is one of electronic assembly factories having more than 3,700 staff. One of factory's environmental problems is increase of wastewater generated from the canteen. As numbers of staff have been increased every year, the factory has to monthly pay the high amount of money to the Northern Region Industrial Estate. The current wastewater treatment process is the biological activated sludge with plastic media addition (known as the Integrated Fixed-film Activated Sludge: IFAS). This process has occasionally not performed at the level set by the factory. To solve the problem, addition of commercial inoculum has been implemented when sludge concentration (SV30) is lower than 300 mg/l and this practice has increased the factory expense. This independent study aimed to investigate effects of commercial inoculum addition in aeration tanks on canteen wastewater treatment efficiency. Four 20 1 lab-scale reactors (R1, R2, R3 and R4) with plastic media addition at 20% of effective volume, the same as the full-scale system used in the factory, were used in the experiments. Wastewater from the factory canteen was fed to each reactor at the HRT of 8.8 d. All reactors were started-up with inoculum from the full-scale sedimentation tank at the volume of 80 1. RI was used as the control reactor without any commercial inoculum addition, while R2, R3 and R4 were added with the commercial inoculum at the volume of 12.5, 25 and 50 ml, respectively, every 14 d. Results showed that the raw wastewater contained high concentrations of organic substances both in forms of BOD and COD. These concentrations were in the high concentration range for domestic wastewater. However, majority of organic substances were found to be easily biodegradable. Total BOD of raw wastewater was quite fluctuated owing to changes of raw materials and types of food. Filtered BOD concentrations of treated wastewater from R1-R4 were not significantly different, which was equivalent to BOD removal efficiencies in the range of 99.1-99.3% regardless of the addition of commercial inoculum. Higher suspended solid concentrations were detected in reactors with commercial inoculum additions. It was found that sludge concentration measurement using SV30 did not represent all amounts of microorganisms in the reactors as both suspended and fixed-film microorganisms existed in the IFAS. At steady-state conditions, microorganisms could provide adequate efficiency in treating wastewater to meet the effluent standards set by both the Ministry of Industry and the factory without any addition of commercial inoculum. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของการเติมเชื้อทางการค้าในถังเติมอากาศต่อประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหาร | en_US |
dc.title.alternative | Effects of commercial inoculum addition in aeration tank on efficiency of canteen wastewater treatment | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีทางชีวภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | การกำจัดน้ำเสีย | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการคุณภาพน้ำ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อุตสาหกรรมเครื่องใช้ฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เป็นอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศ โดยมีการเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง จากการเติบโตดังกล่าวส่งผลต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้ บริษัทฮานาไมโครอิเล็คโทรนิคส์ จำกัด เป็นโรงงานอุตสาหกรรมประเภทประกอบชิ้นส่วน (มหาชน) อิเล็กทรอนิกส์ ปัจุบันมีพนักงานมากกว่า 3,700 คน ปัญหาของโรงงานที่ผ่านมาคือ ปริมาณน้ำเสียที่มากขึ้นจากโรงอาหารเนื่องจากจำนวนพนักงานที่เพิ่มขึ้นในทุกๆปี ทำให้บริษัทต้องจ่ายเงินค่าบำบัดน้ำเสียให้การนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือค่อนข้างสูงในแต่ละเดือน ซึ่งกระบวนการบำบัดน้ำเสียของโรงงานที่มีอยู่เป็นกระบวนการทางชีวภาพแบบแอคติเวดเตดสลัดจ์ที่มีการเติมตัวกลางพลาสติกลงในถังเติมอากาศ (Integrated Fixed-film Activated Sludge: IFAS) ที่บางครั้งมีปัญหาเรื่องประสิทธิภาพที่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่โรงงานกำหนดไว้ โดยโรงงานใช้การแก้ปัญหาโดยการเดิมเชื้อจุลินทรีย์ทางการค้าเมื่อพบค่าความเข้มข้นของปริมาณตะกอบ (SV30) มีค่าน้อยกว่า .มล 300/ล. ทั้งนี้การเติมเชื้อจุลินทรีย์ทางการค้าเป็นประจำ ทำให้บริษัทมีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาผลของการเติมเชื้อทางการค้าในถังเติมอากาศต่อประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียจากโรงอาหาร ทำการทดลองโดยใช้ถังปฏิกรณ์ระดับห้องปฏิบัติการขนาด 20 ล. จำนวน 4 ถัง ถัง) R1, R2, R3 และ R4 แต่ละถังเติมตัวกลางพลาสติกในปริมาตร ร้อยละ 20 ของปริมาตรใช้งานเพื่อจำลองรูปแบบของถังปฏิกรณ์ที่ใช้จริงในโรงงาน ทุกถังป้อนน้ำเสียจริงจากโรงอาหารของโรงงานที่เวลาเก็บกัก 8.8 วัน เริ่มต้นถังปฏิกรณ์โดยการเติมเชื้อตั้งต้นจากถังตกตะกอนของระบบบำบัดน้ำเสียจริงของโรงงานในปริมาณ 80 ล. ถัง R1 เป็นถังควบคุมเดินระบบโดยไม่มีการเติมเชื้อทางการค้าเพิ่มระหว่างการเดินระบบ ส่วนถัง R2, R3 และ R4 เดิมเชื้อทางการค้าในปริมาณ 2..มล 5,ตามลำดับ .มล และ50.มล 25 ในทุกๆ 14 วัน ผลการวิเคราะห์ลักษณะสมบัติของน้ำเสียก่อนเข้าถังเดิมอากาศพบว่ามีปริมาณสารอินทรีย์ ทั้งในรูปบีโอดีและซีโอดีค่อนข้างสูง โดยมีค่าอยู่ในช่วงค่าความเข้มข้นสูงสำหรับน้ำเสียชุมชน แต่สารอินทรีย์ในน้ำเสียส่วนใหญ่สามารถย่อยสลายได้ก่อนข้างง่าย โดยค่าบีโอดีรวมของน้ำเสียที่ใช้ในการทดลองค่อนข้างมีความแปรปรวนซึ่งเป็นสภาวะปกติของการใช้น้ำเสียจริง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัตถุดิบที่ใช้และประเภทของอาหาร ค่ามีโอดีกรองของน้ำที่ผ่านการบำบัดในถังปฎิกรณ์ R1-R4 มีค่าไม่ต่างกัน คิดเป็นประสิทธิภาพการกำจัดบีโอดีในช่วงร้อยละ 99.1-99.3 โดยไม่ขึ้นกับการเติมเชื้อหรือไม่เติมเชื้อทางการค้า นอกจากนี้ยังพบว่าการเติมเชื้อทางการค้าลงในระบบ ทำให้ปริมาณของแข็งแขวนลอยในน้ำที่ผ่านการบำบัดมีค่าสูงขึ้น ทั้งนี้การวัดปริมาณเชื้อในระบบโดยใช้ค่า SV30 ไม่ได้แสดงถึงปริมาณของเชื้อทั้งหมดที่มีอยู่เนื่องจากในถังปฏิกรณ์แบบ IFAS มีการใส่ตัวกลางลงในถังปฏิกรณ์ ทำให้มีจุลชีพทั้งในแบบแขวนลอยและแบบตรึงอยู่ที่ผิวตัวกลาง เมื่อระบบเข้าสู่สภาวะคงที่ จุลชีพเหล่านี้มีประสิทธิภาพสูงพอที่จะบำบัดน้ำเสียให้ผ่านมาตรฐานน้ำทิ้งของกระทรวงอุตสาหกรรมและผ่านเกณฑ์ที่โรงงานกำหนดไว้ได้โรงงานไม่จำเป็นต้องเติมเชื้อจุลินทรีย์ทางการค้าในการบำบัดน้ำเสีย | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632054 อภิชญา ผันอากาศ.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.