Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73778
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาคภูมิ รักร่วม | - |
dc.contributor.author | นนทกร ติ๊บมาใจ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-06T08:46:32Z | - |
dc.date.available | 2022-08-06T08:46:32Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73778 | - |
dc.description.abstract | Large amounts of sludge produced in water supply system and inappropriate sludge draining time causing sludge compacting, sludge clogging and losses of a lot of water to drain. This experiment collected data on water production system, raw water quality and chemical consumption from water supply plants PWA (branch Kokha, Prae and Banhong) to assess sludge accumulation and appropriate sludge management. The results showed that the amount of sludge accumulation in the sedimentation tank of PWA (branch Kokha, Prae and Banhong) were increased in the rainy season and decreased significantly after the rainy season was over. The average daily sludge incidence in 2019 (120.09, 2,826.71 and 25.23 kg/d) and 2020 (121.28, 2,593.10 and 127.41 kg/d) was similar. The study found that the most suitable time for sludge drainage at 1 time / week. Resulting in high efficiency for production system, saving operating resources and less effecting on production process or water quality. Sludge accumulation of water production from 3 raw water sources namely the Yom River (Phrae branch), Wang River (Ko Kha branch) and Li River (Banhong branch). The amount of sediment that occurred in 2019 (1,022.78 43.00 and 4.63 m3) 2020 (915.37 43.26 and 22.92 m3 ) was similar and the sludge incidence rate was 896.08 43.13 and 13.73 m /year. The sludge storage ponds supported the sediment that has been formed was 9.34 1.86 and 1.43 % respectively, and the remaining volume that could accommodated sediment was 81.32 98.14 and 98.57 % respectively. As a result, the sludge storage ponds must be dredged after a period of 5, 5 and 5 years respectively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของคุณภาพน้ำดิบและปริมาณสารเคมีที่ใช้ต่อการสะสมตัวของตะกอนในถังตกตะกอนของการผลิตน้ำประปา | en_US |
dc.title.alternative | Effect of raw water quality and chemical usage quantity on sludge accumulation in sedimentation tank of water supply production | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | น้ำประปา | - |
thailis.controlvocab.thash | ประปา -- ต้นทุนการผลิต | - |
thailis.controlvocab.thash | ตะกอน (ธรณีวิทยา) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปริมาณตะกอนจำนวนมากในกระบวนการผลิตน้ำประปา ประกอบกับระยะเวลาระบายตะกอนไม่เหมาะสมทำให้เกิดการอัดตัวแน่นของตะกอน ก่อให้เกิดปัญหาอื่นตามมาเช่น การแข็งตัวของตะกอน การอุดตันท่อระบายตะกอน และการสูญเสียปริมาณน้ำจำนวนมากในการระบายตะกอน การทดลองนี้เก็บข้อมูลการผลิต คุณภาพน้ำดิบและปริมาณการใช้สารเคมี จาก กปภ.สาขา (เกาะคา แพร่ และบ้านโฮ่ง) เพื่อหาแนวทางประเมินการสะสมตัวและการจัดการตะกอนที่เหมาะสม ผลการทดลองพบว่าปริมาณการสะสมตัวของตะกอนในถังตกตะกอนของ กปภ.สาขา (เกาะคา แพร่ และบ้าน โฮ่ง) ปี 2562 (120.092,826.71 และ 25.23 kg/d) และปี 2563 (121.28 2,593. 10 และ 127.41 kg/d) คล้ายคลึงกัน โดยมีการสะสมตัวมากที่สุดในช่วงฤดูฝน และลดลงอย่างมีนัยสำคัญหลังฤดูฝนผ่านพ้นไปของทุกปี จากการศึกษาพบว่าระยะเวลาที่หมาะสมมากที่สุดคือ การระบายตะกอนด้วยความถี่ 1 ครั้งสัปดาห์ ทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อระบบผลิตและประหยัดทรัพยากรในการดำเนินงาน ตลอดจนไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ในเชิงลบต่อกระบวนการผลิตหรือคุณภาพน้ำประปา ปริมาณการรองรับตะกอนในถังตกตะกอนและสระพักตะกอนของกระบวนการผลิตน้ำประปาจากแหล่งน้ำดิบทั้ง 3 แหล่ง คือ แม่น้ำขม (กปก.สาขาแพร่) แม่น้ำวัง (กปภ.สาขาเกาะคา) และแม่น้ำลี้ (กปภ.สาขาบ้าน โฮ่ง) มีปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้นปี 2562 (1.022.78 43.00 และ 4.63 ลบ.ม.) และปี 2563 (915.37 43.26 และ 22.92 ลบ.ม.) และมีอัตราการเกิดตะกอนเฉลี่ย 896.08 43.13 และ 13.73 ลูกบาก์ศเมตร/ปี ทำให้สระพักตะกอนรองรับตะกอนที่เกิดขึ้นคิดเป็นร้อยละ 9.34 1.86 และ 1.43 ตามลำดับ และยังคงเหลือปริมาตรที่สามารถรองรับตะกอนได้อีกร้อยละ 81.32 98.14 และ 98.57 ตามลำดับ ส่งผลให้ต้องดำเนินการขุดลอกสระพักตะกอนเมื่อระยะเวลาได้ 5 5 และ 5 ปี ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632019 นนทกร ติ๊บมาใจ.pdf | 3.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.