Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภารัตน์ วังศรีคูณ-
dc.contributor.advisorอัจฉรา สุคนธสรรพ์-
dc.contributor.authorพัชรา สลีสองสมen_US
dc.date.accessioned2022-08-03T16:32:33Z-
dc.date.available2022-08-03T16:32:33Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73754-
dc.description.abstractConstipation is a c common symptom found in immobilized patients. This quasi-experimental study utilized a two-group post-test only design. The purpose of the study was to examine the effect of the Constipation Prevention Program on constipation oceurrence in immobilized patients. The sample included 34 immobilized patients. There were 17 subjects in both the control and experimental group who were matched by age and level of constipation risk. Research instruments were the Constipation Prevention Program and the Bowel Elimination Record Form, which were developed by Budpanya (2011). Descriptive statistics and the Fisher's exact test were used for data analysis. The results revealed that: There was a statistically significant difference in constipation occurrence (p <.001) in the control and the experimental group. Only 1 out of 17 subjects in the experimental group had constipation as compared to all 17 subjects in the control group. The research findings confirm that the Constipation Prevention Program can prevent constipation occurrence in immobilized patients. Nurses could apply the program as part of routine care of immobilized patients for constipation prevention.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการป้องกันอาการท้องผูกต่อการเกิดอาการท้องผูก ในผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวen_US
dc.title.alternativeEffect of the constipation prevention program on constipation occurrence in immobilized patientsen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashท้องผูก-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractอาการท้องผูกเป็นอาการที่เกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบสองกลุ่มเปรียบเทียบวัดผลหลังให้การทดลองครั้งเดียว (post-test only design) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของไปรแกรมการป้องกับอาการท้องผูกต่อการเกิดอาการท้องผูกในผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว จำนวน 34 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 17 ราย โดยจับคู่กลุ่มควบคุม และทดลอง ตามอายุ และระดับความเสี่ยงอาการท้องผูก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการป้องกันอาการท้องผูก และแบบบันทึกการถ่ายอุจจาระ ซึ่งพัฒนาโดย วาสนา บุตรปัญญา (2554) วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติชิงพรรณนา และสถิติของฟิชเชอร์ ผลการศึกษา พบว่า การเกิดอาการท้องผูกในกลุ่มทคลอง และกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) โดยกลุ่มตัวอย่างเพียง 1 ราย จาก 17 ราย ในกลุ่มทดลองเกิดอาการท้องผูก ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มควบคุมทั้ง 17 ราย เกิดอาการท้องผูก ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการป้องกันอาการท้องผูก สามารถช่วยป้องกันการเกิดอาการท้องผูกในผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว พยาบาลสามารถนำโปรแกรมดังกล่าวไปประยุกด์ใช้ในการปฏิบัติงานประจำในการดูแลผู้ป่วยที่ถูกจำกัดการเคลื่อน ไหว เพื่อป้องกันการเกิดอาการท้องผูกen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231059 พัชรา สลีสองสม.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.