Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73751
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ | - |
dc.contributor.advisor | ศิวัช สังข์ศรีทวงษ์ | - |
dc.contributor.author | เสรี อิงสถิตธนวันต์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-31T06:48:54Z | - |
dc.date.available | 2022-07-31T06:48:54Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73751 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to investigate the changes of the rumen microbiome, fiber biodegradability and short chain fatty acid production by cassava pulp supplementation in Thai native cattle, including to evaluate the optimal condition toenhance nutritive value of cassava pulp through rumen microbial fermentation. This study was divided into two experiments. The first experiment aims to investigate the effects of cassava pulp supplementation in diet on the changes of rumen bacterial microbiome. The fistulated White Lamphun and the fistulated Thai mountain cattle were fed maize silage ad libitum and supplemented with 0.5 kg DM(dry matter)cassava pulpadded urea 0.5% DM in diet for 4 weeks. The rumen fluid were obtained from the fistulated cattle fed with whole crop maize silage (week 0), and supplemented with a cassava pulp for 1, 2, 3 and 4 weeks. Samples of rumen fluid were collected and analyzedto compare the changeof rumen microbiome and microbial activity. The 16S rRNA amplicon sequencing were used to investigate the changes in the ruminal microbes. The plant cell walls degradation activity was determined using in vitro digestibility. The production of pyruvic acid and short chain fatty acid (SCFA) were measured by HPLC. Bacterial community composition was significantly different in cattle supplemented with cassava pulp for 4 weeks compared to pretreatment (week0). As a result, Methanobrevibacter, Christensenellaceae, Lachnospiraceae, Prevotella, Ruminococcaceae, Vibrio and Rikenellaceae were higher relative abundance in the cattle supplemented with cassava pulp for 4 weeks. These differences affect to rumen bacterial activities with higher plant cell walls degradation lead to high concentration of acetic acid and propionic acid during substrate inoculation. The second experiment was to evaluate the optimal condition to enhance nutritive value of cassava pulp through rumen microbial fermentation. The rumen fluid was collected from the two fistulated Thai native cattle supplemented with cassava pulp for 4 weeks to use as inoculum. The cassava pulp was fermented with 0.85% sodium chloride solution (CON group) 10:1 ratio (wet weight) or mixed with rumen fluid (RF group) with ammonium chloride (NH4Cl) supplementation at various levels (0, 0.25, 0.5% DM). The cassava pulps were fermented under anaerobes at ambient temperature periods of 0, 7 and 14 days. The lactic acid concentration, short chain fatty acid concentration, pH value and chemical composition were determined by proximate analysis technique and detergent method. In vitro gas production kinetics and in vitro digestibility of cassava pulp were also investigated. The results obtained of this study indicated that rumen microbial can enhance nutritive value of cassava pulp. True protein content and short chain fatty acid concentration of cassava pulp were highest after fermentation with rumen microbial for 14 days, at the same time microbial biomass yield (MBY) was improved. However, the effect of NH4Cl on SCFA and true protein content were not observed. The optimum conditions for the cassava pulp nutrient enrichment using ruminal microbes found to be anaerobic at ambient temperature and time of fermentation for 14 days. Under these conditions, the fermented cassava pulp have the highest in SCFA, true protein content and also enrich microbial biomass yield. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การย่อยสลายในกระเพาะรูเมนของกากมันสำปะหลังที่หมักด้วยของเหลวจากกระเพาะรูเมนของโคเนื้อพื้นเมืองที่ทำการเพิ่ม จำนวนจุลินทรีย์จำเพาะ | en_US |
dc.title.alternative | Ruminal degradability of cassava pulp fermented with enriched ruminal fluid from Thai native cattle | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | กระเพาะรูเมน | - |
thailis.controlvocab.thash | จุลชีววิทยา | - |
thailis.controlvocab.thash | จุลินทรีย์ | - |
thailis.controlvocab.thash | โคเนื้อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชีวนิเวศจุลชีพ (Microbiome) กิจกรรมการย่อยสลายเยื่อใยและการผลิตกรดไขมันสายสั้น (Short chain fatty acid; SCFA) ของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนของโคเนื้อพันธุ์พื้นเมืองที่ได้รับการเสริมกากมันสำปะหลังในอาหารรวมถึงการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการหมักกากมันสำปะหลังร่วมกับจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนะของกากมันสำปะหลัง โดยการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ 1) ผลของการเสริมกากมันสำปะหลังในสูตรอาหารต่อการเปลี่ยนแปลงของชีวนิเวศจุลชีพของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนของโคเนื้อพันธุ์พื้นเมือง ทำการทดลองในโคเนื้อที่ผ่าตัดฝังท่อที่มีฝาปิดที่กระเพาะรูเมน (Fistulated cattle) จำนวน 2 ตัวประกอบด้วยโคขาวลำพูนและโคดอยพื้นเมือง โดยสัตว์ทดลองได้รับอาหารคือต้นข้าวโพดหมัก (Maize silage) แบบเต็มที่ (ad libitum) ร่วมกับการให้กากมันสำปะหลังเสริมยูเรียที่ความเข้มข้น 0.5% DM ในสูตรอาหารปริมาณ 0.5 kg DM เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ เก็บตัวอย่างของเหลวจากกระเพาะรูเมน (Rumen fluid) จากโคเนื้อพันธุ์ฟื้นเมืองทั้งก่อนและหลังได้รับการเสริมกากมันสำปะหลังในสูตรอาหารเป็นเวลา 1, 2, 3 และ 4 สัปดาห์ เพื่อใช้ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของประชากรจุลินทรีย์ภายในกระเพาะรูเมนด้วยเทคนิด 16S rRNA amplicon sequencing, วิเคราะห์กิจกรรมการย่อยสลายผนังเซลล์พืชของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนด้วยเทกนิก In vitrodigestibility ร่วมกับการวัดปริมาณการผลิตกรดไพรูวิก (Pyruvic acid) และกรดไขมันสายสั้น (Short chain fatty acid; SCFA) ของจุลินทรีย์ โดยใช้เทกนิก High performance liquid chromatography (HPLC) ผลการทดลองพบว่าการเสริมกากมันสำปะหลังในอาหารทำให้จุลินทรีย์ในกลุ่ม Methanobrevibacter, Christensenellaceae, Lachnospiraceae, Prevotella, Ruminococcaceae, Vibrio และ Rikenellaceaeในกระเพาะรูเมนของ โคขาวลำพูนและโคดอยพื้นเมืองมีประชากรเพิ่มสูงขึ้น ทำให้การย่อยสลายผนังเซลล์พืช, การผลิตกรดอะซิติก (Acetic acid) และกรดโพรพิโอนิก (Propionic acid) ของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมนเพิ่มสูงขึ้น การทคลองที่ 2) คือการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการหมักกากมันสำปะหลังร่วมกับจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนะของกากมันสำปะหลัง เริ่มการศึกษาโดยการเก็บของเหลวจากกระเพาะรูเมน (Rumen fluid) จากโคพันธุ์พื้นเมืองที่ได้รับการเสริมกากมันสำปะหลังในสูตรอาหารเป็นเวลา 4 สัปดาห์เพื่อใช้เป็นแหล่งของจุลินทรีย์ หมักกากมันสำปะหลังร่วมกับจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมน (RF group) โดยการเติมน้ำรูเมนปริมาตร 10% น้ำหนักสด (Wet weight) ส่วนกากมันสำปะหลังกลุ่มควบคุม (Without rumen fluid) ทำการเติมสารละลายโซเดียมคลอไรค์ (Sodium chloride; NaCI) ความเข้มข้น 0.85% ทำการหมักกากมันสำปะหลังร่วมกับการเสริมแอมโมเนียมคลอไรค์ (Ammonium chloride; NH4Cl) ที่ระดับ 0, 0.25 และ 0.5% DM หมักในสภาวะไร้อากาศ (Anaerobes) ณ อุณหภูมิห้อง (Ambient temperature) เป็นระยะเวลา 0, 7 และ 14 วัน เก็บตัวอย่างกากมันสำปะหลังหมักเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปริมาณกรดแลคติก (Lactic acid) และกรดไขมันสายสั้น (Short chain fatty acid ประเมินองค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิก Proximate analysis และ Detergent method ทำการวิเคราะห์จลนศาสตร์การผลิตแก๊สและค่าการย่อยสลายในกระเพาะรูเมนของกากมันสำปะหลังหมักด้วยเทคนิด in vitro gas production และ in vitro digestibility จากผลการศึกษาพบว่าจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนสามารถพิ่มคุณค่าทางโภชนะของกากมันสำปะหลังหมักได้และการหมักกากมันสำปะหลังร่วมกับจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนเป็นระยะเวลา 14 วันเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมในการผลิตกากมันสำปะหลังหมัก เนื่องจากสามารถเพิ่มโปรตีนแท้จริงของกากมันสำปะหลังได้สูงที่สุด ส่งผลให้ปริมาณจุลินทรีย์ที่เกิดจากการหมัก (Microbial biomass yield) ของกากมันสำปะหลังเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าการเสริมจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนสามารถเพิ่มปริมาณรคแลติกและกรดไขมันสาขสั้นของกากมันสำปะหลังหมักได้อย่างไรก็ตามการเสริมแอมโมนียมคลอไรค์ไม่ส่งผลต่อปริมาณ โปรตีนแท้จริง ปริมาณกรดแลติกและกรดไขมันสายสั้นของกากมันสำปะหลังหมัก จากการศึกษาในครั้งนี้สรุปได้ว่าการหมักกากมันสำปะหลังร่วมกับจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนเป็นระยะเวลา 14 วัน ในสภาวะไร้อากาศ เป็นสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเพิ่มคุณค่าทางโภชนะของกากมันสำปะหลัง | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610831010 เสรี อิงสถิตธนวันต์.pdf | 6.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.