Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73730
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปฐมาวดี จงรักษ์ | - |
dc.contributor.author | ปฐวี ไชยเสน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-26T10:19:09Z | - |
dc.date.available | 2022-07-26T10:19:09Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73730 | - |
dc.description.abstract | New Public Governance Development for Smart Farmer Policy in Lamphun Province is qualitative research. The objective of this research is to find the problem and trouble of Smart Farmer policy in Lamphun Province and to find appropriate development for Smart Farmer Policy by using New Public Governance theory to define conceptual frameworks. Additionally, data collection was conducted by using in-depth interviews with the target group regarding smart farmer policy including the vice governor, chief of relevant governance, related government officers, and smart farmers in Lamphun province in a total of 20 peoples. Then, analyze all the obtained data to find the answer for the research by using content analysis methods. The results revealed that both target groups agreed to New Public Governance Development for Smart Farmer policy. the government problems from development smart farmer policy are lack of personnel and budget also the problem from the policy that can not respond the need of the different context. However, in the Smart Farmer, the result revealed that the policy can not achieve the goal as good as its will. The problem caused that the policy can not help them challenge in the marketing from the big-name capitalist also the effect from the spread of COVID-19 that make the change to how their lives. And also the problem from the discontinuous policy support from the government. However both target groups agree that they can improve the Smart Farmer policy by making the clear requirements in policy, management, duties, budgets also mutual benefit must be evident. Every MOU must be on justice and could be an audit. The target group also have confidence in the Smart Farmer Policy that will improve agriculture and quality of life for farmers in Thailand | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาภาคีสาธารณะแบบใหม่ของนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | New public governance development for smart farmer policy in Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | นโยบายการเกษตร -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกรรม -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาการเกษตร -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่อง การพัฒนาภาคีสาธารณะแบบใหม่ของนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง จังหวัดลำพูน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคจากการจัดการนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) และเพื่อค้นหาแนวทางที่เหมาะสม สำหรับการพัฒนานโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) จังหวัดลำพูน โดยใช้แนวคิดการจัดการภาคีสาธารณะแนวใหม่: (New Public Governance) มากำหนดกรอบแนวคิด และ ใช้ธีการเก็บราบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับตัวแทนภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) จำนวน 10 คนและเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ในจังหวัดลำพูน จำนวน 10 คน และนำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามการวิจัย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า กลุ่มเป้าหมายทั้ง 2 กลุ่มมีความเห็นด้วยในการที่จะพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาภาคีสาธารณะแบบใหม่ โดยทางฝั่งภาครัฐพบปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้การจัดการนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ไม่บรรลุเป้าประสงค์ได้ตามผลที่วางไว้คือ การขาดแคลนบุคลากร การขาดดูแคลนงบประมาณ นโยบายที่ไม่ตรงกับบริบทของแต่ละพื้นที่และความทับซ้อนของนโยบายโดยทางฝั่งของเกษตรกรปราดเปรื่องพบปัญหาและอุปสรรคที่ทำให้การจัดการนโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ไม่บรรลุเป้าประสงค์ได้ตามผลที่วางไว้คือ ปัญหาที่ตัวนโยบายยังไม่สามารถช่วยเหลือทางด้านของเกษตรกรในด้านการต่อสู้ของการตลาดกับพวกบริษัทหรือนายทุนรายใหญ่ ปัญหาเรื่องการปรับตัวตามความเปลี่ยนแปลงของทางยุคสมัยจากปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) และความไม่ต่อเนื่องของการได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐในการขับเคลื่อนนโยบาย ทั้งนี้ทั้ง 2 ฝ่ายมีความเห็นพ้องว่าต้องมีการกำหนดข้อตกลงที่ชัดเจนไม่ว่าจะเป็นนโยบายการบริหาร อำนาจหน้าที่ งบประมาณ รวมถึงการชี้ชัดผลประโยชน์ที่ชัดเจนของทั้งสองฝ่าย โดยทุกอย่างต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ไม่เอาเปรียบ มีความเป็นธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ทั้งนี้กลุ่มเป้าหมายมีความมั่นใจว่านโยบายเกษตรกรปราดเปรื่อง สามารถยกระดับการเกษตร รวมไปถึงคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทยอย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621932015 ปฐวี ไชยเสน.pdf | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.