Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorณิชากร วรทัตen_US
dc.date.accessioned2022-07-25T09:52:11Z-
dc.date.available2022-07-25T09:52:11Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73715-
dc.description.abstractThe purposes of this study were: (1) to study sub-district and village headmen role played in the undertaking haze problems in three stages; preparation, management, and sustainability; (2) to investigate the problems and obstacles that occurred in managing the sustainability of the haze problems throughout the three stages; (3) to examine the needs of sub-district and village headmen in sustaining the haze problems in Ban Hong District, Lamphun Province. This study was qualitative research, in-depth and semi-structured interviews were used as a research method to collect data from 20 sub-district and village headmen. Data analysis was done through the transcription and literature review, the key roles and duties of sub-district and village headmen performed during the three stages were analyzed. The results of this study shown sub-district and village headmen were involved in the process during these stages: (1) preparation; increased public relations and public awareness, and established fire barriers. (2) management; planned and directed the respective villagers and fire rescue crews to control the forest fires, and (3) sustainability; implemented and monitored public access to the premises of the affected fire, and identified the damages and affected individuals in the assigned geographical areas. The problems and obstacles found during the three stages were: (1) preparation; difficulty in forming sub-district fires recuse crews, examining the fire premises, the insufficient resource for proper equipment, and the lack of co-operation from the villagers, (2) management, the lack of coordination between relevant agencies, high risk of fire premises, lack of fire rescue crews, and proper equipment, and (3) sub-district and village headmen identified during sustainable stage were the needs to increase government participation in prevention and safety, increase funding, implement evacuation plan, improve career advancement, and implement roles and responsibility among respective agencies in village, sub-district, and district.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ต่อการแก้ไขปัญหาหมอกควัน อย่างยั่งยืน ในอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeRoles of subdistrict and village headmen in sustainable haze problem solving in Ban Hong District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashกำนัน-
thailis.controlvocab.thashผู้ใหญ่บ้าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในกระบวนการแก้ไขปัญหาหมอกควัน ในระยะเตรียมการ ระยะรับมือ และระยะสร้างความยั่งยืน ในเขตอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการแก้ไขปัญหาหมอกควัน ในระยะเตรียมการ ระยะรับมือ และ ระยะสร้างความยั่งยืน ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในเขตอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน และ (3) ศึกษาถึงความต้องการของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในเขตอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูนในการแก้ไขปัญหาหมอกควันได้อย่างยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีการศึกษา ดังนี้ ผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ กำนันและผู้ใหญ่บ้านในอำเภอบ้านโฮ่งจำนวน 20 คน ซึ่งการวิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภายณ์มาประกอบกับการศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในกระบวนการแก้ไขปัญหาหมอกควัน ทั้ง 3 ระยะ พบว่า (1) ระยะเตรียมการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีบทบาทด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการสร้างจิตสำนึก และด้านการจัดทำแนวกันไฟ (2) ระยะรับมือ พบว่า มีบทบาทในการสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าระงับภัยขณะที่เกิดอัคคีภัย และการมีส่วนร่วมเข้าควบคุมไฟป่าด้วยตนเอง และ (3) ระยะสร้างความยั่งยืนพบว่า มึบทบาทสั่งห้ามบุดคลภายนอกเข้ายังพื้นที่เกิดเหตุ และสำรวจผู้ประสบภัยในพื้นที่ของตนเองส่วนปัญหาและอุปสรรค พบว่า ในระยะเตรียมการ มีปัญหาการจัดชุดปฏิบัติการประจำตำบลและการออกลาดตระเวน เนื่องจากราษฎรไม่ให้ความร่วมมือและขาดงบประมาณในการซื้ออุปกรณ์ในระยะรับมือ พบว่า มีปัญหาในการประสานงานกับหน่วยงานอื่น และพื้นที่ควบคุมไฟป่าเป็นพื้นที่เสี่ยง ขาดกำลังคน และขาดอุปกรณ์ ส่วนความต้องการของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการแก้ไขปัญหาหมอกควันอย่างยั่งยืน พบว่าต้องการให้หน่วยงานภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือ ในด้านงบประมาณ ด้านการส่งเสริมอาชีพ และการสร้างเครือข่ายของประชาชนให้เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932005 ณิชากร วรทัต.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.