Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73700
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | ชนนิกานต์ คุมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-22T10:24:51Z | - |
dc.date.available | 2022-07-22T10:24:51Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73700 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study the guidelines for developing the Provincial Community Development Office of Chiang Mai, the development of entrepreneurs of "One Tambon One Product", and products development, including the study of the strategies in relation to development of One Tambon One Product program of Chiang Mai province in accordance with Thailand 4.0 Model. This research uses the qualitative methodology; whereas the informants of this research consist of executives and officials of Provincial Community Development Office of Chiang Mai, entrepreneurs of "'One Tambon One Product", and civilians - there are 15 informants in total. As of which, the data is collected by in-depth interview method using the semi-structured interview form. The collected data from the interview and related documents are analyzed using the content analysis in order to determine the guideline for developing One Tambon One Product Policy under Thailand 4.0 Model of Chiang Mai Province. The result shows that: (1) The Provincial Community Development Office of Chiang Mai has developed its organization in three aspects as follows. First, Personnel, they are encouraged to use technology in order to improve their working performance. Second, in term of System and Administration, the work's streamline should be reduced, and each person's responsibilities should be clearly assigned. Third, in term of the working environment, it should motivate the staff’s in order to improve their performance. (2) The entrepreneurs of One Tambon One Product Program should be improved by acquiring new knowledge, in order to be able to adapt with the era of technology and understand the consumer demand accordingly. (3) The products development provides a good impression on customers by using new technology and innovation to improve the production and distribution process in order to attract the consumers; the products distribution was originally limited to be available at the shops only, but it has been expanded to be available on the online shopping platform in order to access more consumer in the market. (4) The Development Strategy will focus on supporting and encouraging the entrepreneurs to use technology, innovation and creativity in developing their products. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนานโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ในบริบทประเทศไทย 4.0 ของจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Development of One Tambon One Product policy in the context of Thailand 4.0 Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ -- นโยบายของรัฐ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาของผู้ประกอบการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงศึกษากลยุทธ์ในการพัฒนาโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของจังหวัดเชียงใหม่ให้สอดคล้องกับบริบทประเทศไทย 4.0 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ตัวแทนผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และประชาชน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 15 คน ซึ่งผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา เพื่อทำการกำหนดแนวทางการพัฒนานโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในบริบทประเทศไทย 4.0 ของจังหวัดเชียงใหม่ผลการวิจัย พบว่า (1) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการพัฒนาองค์การใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านบุคลากร ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีในการช่วยทำงาน เพื่อความรวดเร็วในการทำงาน ด้านระบบและการบริหารจัดการ ควรมีการลดขั้นตอนในการดำเนินงานและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนอย่างชัดเจน ด้านบรรยากาศองค์กร การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน (2) ผู้ประกอบการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ควรมีการพัฒนาตนเองในการหาองค์ความรู้ใหม่ การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคของเทคโนโลยี เข้าใจความต้องการของผู้บริโภค (3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างความประทับใจแก่ลูกค้า โดยการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมใหม่ ๆ เข้ามาช่วยในการผลิต การจำหน่าย เพื่อดึงดูดผู้บริ โภค สถานที่การจัดจำหน่ายจากเดิมที่มีแค่หน้าร้านเปลี่ยนเป็นขายออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงผู้บริโภคมากขึ้น (4) กลยุทธ์ในการพัฒนาจะเน้นสนับสนุนผู้ประกอบการให้ใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเอง | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621932002 ชนนิกานต์ คุมา.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.