Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73657
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุลักษณ์ สุมิตสวรรค์ | - |
dc.contributor.author | อวิรุทธ์ บุญยมาลิก | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-18T10:31:43Z | - |
dc.date.available | 2022-07-18T10:31:43Z | - |
dc.date.issued | 2020-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73657 | - |
dc.description.abstract | This independent research aims to develop and analyze the accuracy of the simple air quality monitoring equipment generated compare with data from the Pollution Control Department's standard meter. It compared data from the Department of Pollution Control at measurement station 36. Yupparaj Wittayalai School , Si Phum Sub-district, Mueang District, Chiang Mai Province.And Internet of Things technology has been used to send and transmit the concentration of sensor-readable pollutants to the Internet, which saves significantly compares to the typical cost of measuring and air pollution reporting using four modules: PMS3003 , MQ131 , MQ136 and CCS811.To measure particulate matter (PM2.5 and PM10), ozone, carbon monoxide and volatile organic matter in the air respectively. According to the analysis, the PMS3003 module used to measure PM2.5 and PM10 has hourly correlation values of 0.7972 , 0.6785 respectively and 24-hour correlation up to 0.9527 , 0.9453 respectively. PM2.5 accuracy is 74.48 % , PM 10 is 76.78 % but MQ131 module is used to measure the concentration of ozone. There is a low accuracy value and statistical insignificant which differs from the MQ136 module used to measure carbon monoxide concentrations. There is an hourly correlation value and 24 hours at just 0.1403 , 0.0002 respectively with an accuracy value of 86.44 % and the CCS811 module used to measure the total amount of volatile organic matter. It is not possible to measure the type of volatile organic matter in the general atmosphere. Therefore , in conclusion the PMS3003 module and the MQ136 module have sufficient accuracy to be used as a spot surveillance value. But it cannot be used as a standard because there is a large amount of data error in the measurement. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาและวิเคราะห์สมรรถนะของอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพอากาศอย่างง่าย | en_US |
dc.title.alternative | Development and performance analyzing of simple air quality measuring device | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | คุณภาพอากาศ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการคุณภาพอากาศ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและวิเคราะห์หาค่าความถูกต้องของอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพอากาศอย่างง่ายที่สร้างขึ้น เปรียบเทียบกับข้อมูลจากเครื่องวัดมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ โดยได้ทำการเปรียบเทียบข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ สถานีที่ 36 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 10 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 23 ตุลาคม 2563 เป็นระยะเวลา 14 วัน และได้นำเทคโนโลยี Internet of Things มาใช้เพื่อรับและส่งข้อมูลค่าความเข้มข้นของสารมลพิษที่เซ็นเซอร์อ่านได้ไปยังอินเทอร์เน็ต ซึ่งทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปอย่างมาก เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายโดยปกติที่ต้องจ่ายในการตรวจวัด และ รายงานผลทางมลพิษอากาศ โดยใช้โมดูลทั้งสี่ชนิด ได้แก่ PMS3003 , MQ131, MQ136 และ CCS811 ในการตรวจวัดมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5 และ PM10) , โอโซน , คาร์บอนมอนอกไซด์ และสารอินทรีย์ระเหยง่ายในอากาศ ตามลำดับ จากผลการวิเคราะห์พบว่าโมดูล PMS3003 ที่ใช้ในการวัด PM2.5 และ PM10 มีค่าสหสัมพันธ์รายชั่วโมงถึง 0.7972 , 0.6785 ตามลำดับ และมีค่าสหสัมพันธ์ราย 24 ชั่วโมงสูงถึง 0.9527 , 0.9453 ตามลำดับ โดยมีค่าความถูกต้องของ PM2.5 อยู่ที่ 74.48 % , PM 10 อยู่ที่ 76.78 % แต่โมดูล MQ131 ที่ใช้ในการวัดค่าความเข้มข้นของก๊าซโอโซน มีค่าความถูกต้องต่าและไม่มีนัยสำคัญทางสถิติซึ่งแตกต่างกับโมดูล MQ136 ที่ใช้ในการวัดค่าความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ มีค่าสหสัมพันธ์รายชั่วโมงและราย 24 ชั่วโมงเพียง 0.1403 , 0.0002 ตามลำดับ โดยมีค่าความถูกต้องอยู่ที่ 86.44 % และโมดูล CCS811 ที่ใช้ในการวัดปริมาณสารอินทรีย์ระเหยรวมนั้น ไม่สามารถวัดแยกชนิดค่าสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศโดยทั่วไปได้ จึงสรุปได้ว่า โมดูล PMS3003 และโมดูล MQ136 มีค่าความถูกต้องเพียงพอที่จะใช้เป็นค่าในการเฝ้าระวังเฉพาะจุดได้ แต่ไม่สามารถใช้เป็นค่ามาตรฐานได้ เนื่องจากมีค่าความผิดพลาดของข้อมูลในการตรวจวัดอยู่มาก | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610632022 อวิรุทธ์ บุญยมาลิก.pdf | 5.6 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.