Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73590
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐวุฒิ อรินทร์-
dc.contributor.authorเจนจิรา นามวงค์en_US
dc.date.accessioned2022-07-09T09:34:55Z-
dc.date.available2022-07-09T09:34:55Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73590-
dc.description.abstractThis research was quasi- experimental. The objective for study effect of group process according to cognitive behavior therapy on attitude toward prevent pregnancy and behavioral intention in prevent pregnancy among high school students, total 20 people. It was divided into experimental and control groups of 10 people each. Compare the difference, attitude toward prevent pregnancy and behavioral intention in prevent pregnancy before and after the trial with the Dependent and Independent t- Test values. 4-week follow-up period with Repeated Measure ANOVA analysis. The results showed experimental group have attitude toward prevent pregnancy and behavioral intention in prevent pregnancy score was post-test higher than pre-test at p-value 0.05. The treatment group of attitude toward prevent pregnancy and behavioral intention in prevent pregnancy score higher than control group at p-value 0.001 and p-value 0.05. During each follow-up period, treatment group had a statistically significant difference in behavioral intention in prevent pregnancy (F = 7.379, P <0.05). In the Follow up score behavioral intention in prevent pregnancy higher than pre-test at p-value 0.05.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของกระบวนการกลุ่มตามแนวการบำบัดด้วยการรู้การคิดและพฤติกรรมต่อทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.title.alternativeEffect of group process according to cognitive behavior therapy on attitude toward prevent pregnancy and behavioral intention in prevent pregnancy among high school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการตั้งครรภ์ -- วัยรุ่น-
thailis.controlvocab.thashครรภ์ในวัยรุ่น -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashครรภ์ในวัยรุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้เป็นกึ่งทดลอง ศึกษาผลของกระบวนการกลุ่มตามแนวการบำบัดด้วยการรู้การคิดและพฤติกรรม ต่อทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาทั้งหมด 20 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถามทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ด้วยสถิติ Dependent และ Independent . test วิเคราะห์ความความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ระยะติดตามด้วยสถิติ Repeated Measure ANOVA ผลวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมีทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์และมีความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ หลังทดลองสูงกว่าก่อนทคลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P<.05 ภายหลังการทดลองนักเรียนกลุ่มทดลองมีทัศนคติต่อการป้องกันการตั้งครรภ์และมีความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P<.001 และ P<.05 ตามลำดับ ในระยะติดตามแต่ละช่วงเวลานักเรียนกลุ่มทดลองมีความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F= 7.379, P<0.05) โดยมีความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์สูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P<.05en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132001 เจนจิรา นามวงค์.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.