Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรทัศน์ อินทรัคคัมพร-
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ-
dc.contributor.authorพินิจ วันนาen_US
dc.date.accessioned2022-07-07T10:56:27Z-
dc.date.available2022-07-07T10:56:27Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73559-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the factors affecting to farmer’s adoption of passion fruit production technology in the Sob Moei highland development project using Royal Project System, Sob Moei district, Mea Hong Son Province and 2) to study the farmer’s problem and need for passion fruit production. The interview schedule was created to collect data from a sample of 100 farmers growing passion fruit. The collected data were analyzed for frequency, percentage, mean, maximum, minimum, standard deviation and multiple repression analysis. The results reveal that the factors affecting to farmer’s adoption of passion fruit production technology in the Sob Moei highland development project using Royal Project System, Sob Moei district, Mea Hong Son Province were 1) knowledge of passion fruit production and 2) contact and receiving guidance form agricultural extension officer. These 2 factors had positive correlation with the level of adoption of passion fruit production technology as significant at the 0.01 level showed the coefficient of determination at 45.3 percentage. The problem and requirement of the farmers for passion fruit production present that they had the production problem in medium level especially the diseases, insects and other pest. For farmers’ requirement were the officer should closely visit and continuously provide knowledge about the outbreak of plant diseases, insect pest and their control. Moreover, they had required tank and water system for using water throughout crop production. Suggestions of this research, the officer should provide knowledge and realize to the farmers about the vantage of curing as well as organize a workshop and invite the specialist for providing the deep knowledge and advising the pest managements. Suggestions for next research, the extension and adoption of passion fruit production in other provinces should be studied for compared with this research.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเสาวรสของเกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeFactors affecting farmer’s adoption of passion fruit production technology in the Sop Moei highland development project using Royal Project System, Sop Moei District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโครงการหลวงสบเมย-
thailis.controlvocab.thashกะทกรกฝรั่ง-
thailis.controlvocab.thashกะทกรกฝรั่ง -- โรคและศัตรูพืช-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- สบเมย (แม่ฮ่องสอน)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการผลิต เสาวรสของเกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และ 2) ศึกษาปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะในการผลิตเสาวรสของ เกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัด แม่ฮ่องสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เกษตรกรผู้ผลิตเสาวรสในพื้นที่โครงการพัฒนา พื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 100 ราย เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสถิติสำเร็จรูป เพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเสาวรสของเกษตรกรใน พื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการปลูกเสาวรส และการติดต่อและได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร มี ความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับระดับการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเสาวรสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01 ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แห่งการตัดสินใจในเชิงพหุ (Multiple coefficient of determination: R2) ร้อยละ 45.3 (R2 = 0.453) ปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับการผลิตเสาวรสในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ โครงการหลวงสบเมย อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าเกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการผลิต เสาวรสอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านโรคแมลงและศัตรูพืชต่าง ๆ ส่วนความต้องการของเกษตรกร เป็นความต้องการให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและให้ความรู้ อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคพืช แมลงศัตรูพืช และการป้องกันกำจัด รวมทั้งต้องการ ให้ทางโครงการฯ สนับสนุนถังพักน้ำและระบบน้ำเพื่อให้มีปริมาณน้ำเพียงพอสำหรับเสาวรสตลอด ฤดูกาลผลิต ข้อเสนอแนะ คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรควรให้ความรู้แก่เกษตรกรและกระตุ้นให้ เกษตรกรตระหนักถึงประโยชน์ของการบ่มเสาวรสอย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมถึงเกษตรกรยังมี ปัญหาและความต้องการด้านโรคแมลงและศัตรูพืชต่าง ๆ ของเสาวรส จึงควรมีการจัดอบรมเชิง ปฏิบัติการและเชิญวิทยากรที่มีความรู้เฉพาะด้านมาให้ความรู้เชิงลึก รวมถึงให้แนวในการป้องกัน กำจัดศัตรูพืช ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป คือควรศึกษาถึงการส่งเสริมการยอมรับเทคโนโลยี การผลิตเสาวรส และศึกษาทัศนคติของเกษตรกรที่มีต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตเสาวรส ในจังหวัดอื่น ๆ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกับผลงานวิจัยที่ค้นพบในงานวิจัยนี้en_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600832020 พินิจ วันนา.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.