Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73551
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาสกร แช่มประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | กฤติเดช สระธรรม | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-07T10:13:31Z | - |
dc.date.available | 2022-07-07T10:13:31Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73551 | - |
dc.description.abstract | In Thailand, flooding is a disaster that occurs every year. Floods affect to the social and economic losses. To reduce the flooding losses, people require to receive accurate flood early warning information responsively. Therefore, the researcher has studied the website design process to develop the website prototype for flood early warning systems by interviewing the experienced website designers and the government officer agents, who involve in the flood disaster protocol regulation, from the department of disaster prevention and mitigation of Chiang Mai Province. From the interview results, the researcher applies the obtained information to develop the website prototype. Then, the sample group of the people has tested the flood early warning website prototype. The results show that the sample group is satisfied with the most satisfying level; the mean value is 4.21 (𝑋 = 4.21 S.D .= 0.51). This study reveals that the flood early warning website should consist of 1) flood maps to show the flood situation information with images of floods in the user location area, 2) the approximate time of flood arriving according to the user location, and 3) the system ability to automatically issue the notification messages. The properly flood design website can reduce the effects of property and economic losses. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์สำหรับระบบเตือนภัยน้ำท่วมล่วงหน้า | en_US |
dc.title.alternative | Website design and development for flood early warning systems | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | - |
thailis.controlvocab.thash | การป้องกันน้ำท่วม | - |
thailis.controlvocab.thash | การป้องกันความเสียหายจากน้ำท่วม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ประเทศไทยประสบปัญหาอุทกภัยทุกปี สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่าง มาก เพื่อลดความเสียหายจากปัญหาอุทกภัยประชาชนควรได้รับข้อมูลเตือนภัยน้ำท่วมอย่างถูกต้อง และทันท่วงที ระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์น้ำท่วมเป็นเครื่องมือ หนึ่งที่ให้ข้อมูลเตือนอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงได้ศึกษากระบวนการออกแบบและ พัฒนาเว็บไซต์สำหรับการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัย สถานการณ์น้ำท่วมอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและเหมาะสมต่อ การเผยแพร่ข้อมูล โดยหาแนวทางกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ที่เหมาะสมด้วยวิธีการสัมภาษณ์นัก ออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสบการณ์สูงและสอบถามข้อมูลภาครัฐที่ต้องการเผยแพร่จากการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานผู้เกี่ยวข้องกับการเตือนภัยน้ำท่วมโดยตรงจากสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดเชียงใหม่ จากนั้นผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเว็บไซต์ต้นแบบ และให้กลุ่ม ตัวอย่างได้ทดลองใช้งาน ผลจากการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างพึงพอใจกับเว็บไซต์ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 (𝑋 = 4.21 และ S.D.= 0.51) จากการศึกษานี้พบว่าเนื้อหาในเว็บไซต์สำหรับ เตือนภัยน้ำท่วมควรจะประกอบไปด้วย แผนที่เพื่อแสดงข้อมูลพร้อมรูปภาพน้ำท่วมในแต่ละพื้น บริเวณใกล้เคียงตามตำแหน่งของผู้ใช้งาน มีข้อมูลที่บอกถึงระยะเวลาที่น้ำจะท่วมในบริเวณตำแหน่ง ที่ผู้ใช้งานอยู่ และระบบที่พัฒนาขึ้นควรแจ้งเตือนผู้ใช้งานได้อัตโนมัติแม้ไม่ได้เปิดเว็บไซต์อยู่ หากเว็บไซต์เตือนภัยน้ำท่วมสามารถนำเสนอข้อมูลได้ตามความต้องการดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ ต่อทุกภาคส่วน ช่วยลดความเสียหายได้ทั้งชีวิต ทรัพย์สิน และลดความเสียหายทางเศรษฐกิจได้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600632035 กฤติเดช สระธรรม.pdf | 15.54 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.