Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73549
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถจักร สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorสายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorธิกานต์ ศรีนารา-
dc.contributor.authorนราวิทย์ ดาวเรืองen_US
dc.date.accessioned2022-07-07T10:03:39Z-
dc.date.available2022-07-07T10:03:39Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73549-
dc.description.abstractThe process in which “Chaopho Si Nakhon Tao” becoming supreme spirit i.e. “Phi Yai”, who prevailed over other spirits in Thung Kula Ronghai community, is significantly caused by socio-economic changes. The change was a result of the state’s development plan in the Thung Kula Ronghai during the year 2500 – 2560 B.E Prior to the year 2500 B.C., the spiritual belief in Thung Kula Ronghai had been diverse and indigenous as it had been conditioned by the local economic system where the people’s living is based on family and community-based production. The production system and people’s living had been long dependent on the natural variation. Hence, in annual cycle, the people’s hope and wish had inextricably interwoven with the indigenous belief and spirituality as seen from both “public” and “individual” prayers. These prayers either to the ancestral ghosts or local spirits are related to the production system, peace and happiness, health care system, and property in family and community. The local belief and spirituality within the Thung Kula Ronghai community began to change following the local socio-economic changes as the result of the government’s socioeconomic development plan since the year 2500 B.E. The wasteland and public areas have been encroached and turned into commercial farming linked with market. As a consequence, the roles of indigenous spirits who guarded the local farms and those public area has been lessen. Furthermore, as this socio-economic development plan has broadened the local production and trading linkage beyond locality, “Phi Yai” was created to draw various groups of people into the same large spiritual shade. The old “Phi”, believed to have linkage with the state, was recreated as “Phi Yai” who dominated larger extent of area. The spirit of Chaopho Si Nakhon Tao thus has been eventually changed from a local spirit to “Phi Yai” since the 2540 B.E.. The “prayer” on hope and wish has also shifted to a more individual aspect.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleเจ้าพ่อศรีนครเตา:การกลายเป็น“ผีใหญ่”ภายใต้ความเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ-สังคมในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ตั้งแต่หลังทศวรรษที่ 2500-2560en_US
dc.title.alternativeChaw Pho Sri Nakhontao : the becoming of "Phi Yai" under the change of the socio-cultural economy of Thung Kula Ronghai since, 1957-2017en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashเจ้าพ่อศรีนครเตา-
thailis.controlvocab.thashความเชื่อ-
thailis.controlvocab.thashวัฒนธรรม-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.controlvocab.thashการเกษตร-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractกระบวนการการกลายเป็น "ผีใหญ่" ครอบคลุมพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ของ "เจ้าพ่อศรีนครเตา" และมีสถานะเหนือกว่าผีประจำชุมชนท้องถิ่นอื่นๆ นั้นเกิดขึ้นจากเงื่อนไขปัจจัยความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมอันเป็นผลมาจากการพัฒนาพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ของรัฐนับตั้งแต่หลังทศวรรษที่ 2500-2560 เป็นสำคัญ ก่อนทศวรรษที่ 2500 ความเชื่อเรื่องผีในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้มีความหลากหลายและมีลักษณะเฉพาะถิ่น ซึ่งล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะการผลิตเพื่อยังชีพที่มีครอบครัวและชุมชนเป็นฐานการผลิต ระบบการผลิตและการดำรงชีพของผู้คนตกอยู่ภายใต้ความผันแปรของธรรมชาติตลอดมา ความหวังและความปรารถนาในรอบหนึ่งปีจึงเชื่อมโยงกับความเชื่อและการนับถือผีเป็นสำคัญ โดยการกล่าว "คำขอ" ทั้ง "ขอโดยส่วนรวม" และ "ขอส่วนตัว" ต่อผีบรรพบุรุษหรือผีประจำถิ่นอื่นๆ สัมพันธ์อยู่กับระบบการผลิต ความสงบสุข ระบบสุขภาพและทรัพย์สินของครอบครัวและชุมชนความเชื่อและการถือผีของชุมชนในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ เริ่มแปรเปลี่ยนเมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ-สังคมที่เป็นผลจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ-สังคมของรัฐนับตั้งหลังทศวรรษที่ 2500 เป็นต้น พื้นที่รกร้างว่างเปล่า พื้นที่สาธารณะถูกบุกรุกและปรับเปลี่ยนให้เป็นแปลง นา เพื่อรองรับการผลิตพืชพานิชย์ที่เชื่อมต่อกับระบบตลาด ซึ่งทำให้ผีประจำถิ่นที่เคยคุ้มครองพื้นที่นาหรือพื้นที่สาธารณะถูกลดบทบาทและความสำคัญ ขณะเดียวกันในอีกด้านหนึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมของรัฐได้ทำให้เกิดการเชื่อมต่อทางการผลิต การจำหน่ายที่กว้างขวางกว่าเดิม จึงทำให้เกิดการสร้าง "สร้างผีใหญ่" ขึ้นมาผสานผู้คนให้อยู่กายใต้ร่มเงาความศักดิ์สิทธิผืนใหญ่ร่วมกัน "ผี" เดิมที่เชื่อกันว่าเคยมีเชื่อมต่อกับรัฐมาก่อน ได้ถูกสร้างสรรขึ้นมาเป็น "ผีใหญ่" ของพื้นที่ที่กว้างขวาง "เจ้าพ่อศรีนครเตา" จึงได้กลายสภาวะจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์เฉพาะถิ่นมาสู่การเป็น "ผีใหญ่"นับตั้งแต่หลังทศวรรษที่ 2540 เป็นต้นมา การกล่าว "คำขอ" จึงได้แปรเปลี่ยนมาสู่สัมพันธ์การเน้นความหวังและความปรารถนาแห่งชีวิตส่วนบุคคลมากขึ้นen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580151003 นราวิทย์ ดาวเรือง.pdf17.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.