Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73531
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยากร หวังมหาพร | - |
dc.contributor.advisor | ธันยวัฒน์ รัตนสัก | - |
dc.contributor.advisor | พจนา พิชิตปัจจา | - |
dc.contributor.author | ภัทรวดี ชัยวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-06T10:37:22Z | - |
dc.date.available | 2022-07-06T10:37:22Z | - |
dc.date.issued | 2561-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73531 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to evaluate CCTV FULL HD project by Chiang Mai Provincial Administrative Organization. There were five steps in this project: 1) system evaluation, 2) project planning evaluation, 3) implementation evaluation, 4) evaluation to improve the project, and 5) evaluation of the acceptance of the project, as well as the evaluation of the utilization of recorded images for crime victim and related organization. Samples were divided into two groups. The first was organization or agency group that consisted of seven people of director and officers of the Chiang Mai Provincial Administration Organization. The latter was a relevant organization group of the police station that responsible in the Muang district of Chiang Mai. Information was collected from four heads of the investigation team. There were two people groups that were two crime victims in the Muang district of Chiang Mai. The total sample was thirteen people. The semi-structured questionnaires were used as a research tool, and all data were analyzed and evaluated by using the Alkin’s evaluation method. The results of this research showed that the evaluation of the project, for all five steps, based on the Alkin’s evaluation method was consistent with the purpose of the project. Because the results of this project were necessary evidence for the relevant organizations, so these results were used as clues to identify the offender and to help crime victim to get justice faster.The success of this project resulted in the Chiang Mai Provincial Administration Organization, as the project owner, planned to develop this project continuously. The further plan was to install Full HD CCTVs in twenty-five districts, originally installed only in eleven tested districts. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การประเมินผลโครงการ | en_US |
dc.subject | โทรทัศน์วงจรปิด | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินผลโครงการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดซีซีทีวี ฟูล เอชดี ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Evaluation of CCTV FULL HD Project by Chiang Mai Provincial Administrative Organization | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์การบริหารส่วนจังหวัด | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารโครงการ | - |
thailis.controlvocab.thash | โทรทัศน์วงจรปิด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดซีซีทีวี ฟูล เอชดี ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.ประเมินระบบ 2.ประเมินการวางแผนโครงการ 3.ประเมินเพื่อการนำไปใช้ 4.ประเมินเพื่อปรับปรุงโครงการ และ 5.ประเมินเพื่อการยอมรับโครงการ รวมทั้งประเมินการนำไปใช้ประโยชน์จากภาพที่บันทึก แก่ประชาชนผู้เสียหายจากคดีอาชญากรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ หนึ่งกลุ่มองค์การหรือหน่วยงาน ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารและกลุ่มเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 7 คน และกลุ่มหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสถานีตำรวจที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งจะเก็บข้อมูลจากหัวหน้าระดับปฏิบัติการสายงานสืบสวน จานวน 4 คน สองกลุ่มบุคคล ได้แก่ ประชาชนผู้เสียหายจากคดีอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่เขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 2 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 13 คน เครื่องมือใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นเครื่องมือในการวิจัยและจะนาข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ประเมินผลตามตัวแบบประเมินของอัลคิน ผลการวิจัย พบว่า การประเมินผลโครงการดังกล่าวตามตัวแบบประเมินของอัลคินทั้ง 5 ขั้นตอน มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้ เนื่องจากผลลัพธ์ของโครงการที่เกิดขึ้นมีส่วนช่วยในการเป็นหลักฐานสำคัญที่ทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นเบาะแสในการดำเนินการหาตัวผู้กระทำผิด และทำให้ประชาชนผู้เสียหายจากคดีได้รับความเป็นธรรมจากดำเนินคดีดังกล่าวได้เร็วขึ้น ความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากโครงการดังกล่าวทำให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นหน่วยงานเจ้าของโครงการ ได้มีการวางแผนเพื่อพัฒนาโครงการต่อไป โดยวางแผนการเพิ่มพื้นที่ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดให้ครบทั้ง 25 อำเภอ จากเดิมที่มีการติดตั้งเพียงจำนวน 11 อำเภอนำร่อง | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ภัทรวดี ชัยวงค์-full.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.