Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสรี ใหม่จันทร์-
dc.contributor.authorสุเมธ พลจรen_US
dc.date.accessioned2022-07-05T10:13:11Z-
dc.date.available2022-07-05T10:13:11Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73513-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the effects of integrating Logotherapy group counseling with bibliotherapy on enhancing university students’ meaning in life. A quasiexperimental research with a pretest-posttest control group design was employed. Undergraduate students were selected by employing the purposive sampling method according to the inclusion criteria and the exclusion criteria. They consisted of 24 students that were categorized into two groups: 12 persons for an experimental group and 12 persons for a control group. The experimental group participated in the Logotherapy group counseling with bibliotherapy while the control group did not. The data were analyzed by employing descriptive statistic, independent and dependent t-test. The results of this research were as follows: 1. The university students who participated in the Logotherapy group counseling with bibliotherapy had higher meaning in life level with a statistically significant difference at .01. 2. The university students who participated in the Logotherapy group counseling with bibliotherapy had higher meaning in life level than the control group with a statistically significant difference at .01. In conclusion, the integration of Logotherapy group counseling with bibliotherapy could vigorously develop the undergraduate students’ meaning in life. Additionally, the results were discussed with the qualitative data in order to confirm the efficiency and the effectiveness of the group counseling program designed by the researcher on enhancing the undergraduate students’ meaning in life.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความหมายในชีวิตen_US
dc.subjectการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้en_US
dc.subjectวรรณกรรมบำบัดen_US
dc.subjectนักศึกษามหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectMeaning in lifeen_US
dc.subjectLogotherapy group counselingen_US
dc.subjectBibliotherapyen_US
dc.subjectUniversity studentsen_US
dc.titleผลของการบูรณาการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้กับวรรณกรรมบำบัดที่มีต่อการเสริมสร้างความหมายในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeEffects of integrating logotherapy group counseling with bibliotherapy on enhancing university students’ meaning in lifeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashจิตบำบัด-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมบำบัด-
thailis.controlvocab.thashจิตบำบัดกับวรรณกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการบูรณาการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม แนวจิตบำบัดแบบโลโก้กับวรรณกรรมบำบัดที่มีต่อการเสริมสร้างความหมายในชีวิตของนักศึกษา มหาวิทยาลัย โดยเป็นการวิจัยในรูปแบบกึ่งทดลอง แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการ ทดลอง ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักศึกษาที่มีสถานภาพที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญา ตรี ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเข้าและเกณฑ์การคัดออก จำนวน 24 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 12 คน และกลุ่มควบคุม 12 คน โดยกลุ่มทดลองได้เข้าร่วมการ ปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้กับวรรณกรรมบำบัด ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้เข้า ร่วมกระบวนการกลุ่ม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนำและการทดสอบค่าที (t-test) แบบเป็นอิสระจากกันและไม่เป็นอิสระจากกัน ผลการวิจัย พบว่า 1. นักศึกษามหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้ กับวรรณกรรมบำบัดมีระดับความหมายในชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2. นักศึกษามหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้ กับวรรณกรรมบำบัดมีระดับความหมายในชีวิตหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การบูรณาการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มแนวจิตบำบัดแบบโลโก้ กับวรรณกรรมบำบัด สามารถพัฒนาความหมายในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังได้รับการอภิปรายร่วมกับข้อมูลเชิงคุณภาพ อันเป็นการยืนยัน ถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น ว่าสามารถเสริมสร้างความหมายในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยได้en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132036 สุเมธ พลจร.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.