Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73509
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สรัสวดี อ๋องสกุล | - |
dc.contributor.advisor | Rao Ruiying | - |
dc.contributor.author | โจวปี้ เฝิง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T09:48:15Z | - |
dc.date.available | 2022-07-05T09:48:15Z | - |
dc.date.issued | 2020-12 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73509 | - |
dc.description.abstract | This paper aims to study the characteristics and the change in the tributary relationship between China and Lan Na fr om the late of the 13 th century to the 16 th century . The author analyzes the change in this relation via dividing into the following three periods . Firstly , the stage before the es- tablishment of tributary relationship . Secondly , the development of the trib utary relationship between China and Lan Na . Thirdly , the end of the relationship . By analyzing China s management and dom- inance over Lan Na , and how China s tributary institutional system works on Lan Na , the author studied the characteristics of the trib utary relationship of China with Lan Na The research found that the tributary relationship between China and Lan Na among the three periods was dynamic , which was changeable according to the specific situation of each period of two kingdoms . During the fi rst period (1260-1312 ), Lan Na fought against China . China tried to conquer Lan Na with military force but failed finally . During the second period (1312-1487 ), China and Lan Na established the tributary relationship which was harmonious even reached i ts peak but still was unsustainable . During the third period (1487-1558), the tributary relationship between China and Lan Na was broken after Lan Na was no longer an independent state since it become Burma s depend- ent territory . The tributary relationsh ip between China and Lan Na was an unequal power relationship . As is to say , China dominates Lan Na as the role of a patron , because China had established local offices in Lan Na and set up the specific requirements for Lan Na in the tribute system . Howeve r , to do so , both sides must safeguard their own interests | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนา สมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13-16 | en_US |
dc.title.alternative | Tributary relations between China and Lan Na in the late 13th-16th centuries | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | เครื่องราชบรรณาการ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนา | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทย (ภาคเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะและการปรับเปลี่ยนของความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนกับล้านนาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 – 16 ผู้เขียนได้วิเคราะห์การปรับเปลี่ยนของความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนา ซึ่งแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ(1) ก่อนการสร้างความสัมพันธ์แบบระบบบรรณาการ (2)พัฒนาการของความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนา และ(3) จุดสิ้นสุดของความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนกับล้านนา และศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนกับล้านนาภายใต้การปกครองล้านนาของจีนและกลไกของระบบบรรณาการของจีนต่อล้านนา ผลของการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนาใน 3 ช่วงนั้นมีลักษณะที่เป็นพลวัต ซึ่งมีความปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ของทั้งสองอาณาจักรในแต่ละสมัย ดังพบช่วงที่ 1 (ค.ศ. 1260 - 1312) ล้านนาต่อสู้กับจีน จีนใช้กาลังทหารปราบล้านนาแต่ไม่สาเร็จ ช่วงที่ 2 (ค.ศ. 1312 - 1487) จีนและล้านนาสถาปนาความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการ ช่วงนี้ความสัมพันธ์ค่อนข้างดีและพัฒนาถึงจุดสูงสุด แม้กระนั้นก็ไม่สม่าเสมอ ช่วงที่ 3 (ค.ศ. 1 487 - 1558) ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่าวจีนและล้านนาสิ้นสุดลงหลังจากล้านนาไม่มีฐานะเป็นรัฐอิสระ โดยตกอยู่ในอานาจของพม่า และความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนาเป็นความสัมพันธ์เชิงอานาจที่ไม่เท่าเทียมกัน โดยฝ่ายจีนมีอานาจเหนือกว่าฝ่ายล้านนา และในฐานะเป็นผู้อุปถัมภ์ ซึ่งจีนเข้าไปจัดระบบการปกครองท้องถิ่นในล้านนาและมีข้อกาหนดเฉพาะในระบบบรรณาการ แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งสองฝ่ายต่างรักษาประโยชน์ของตนเอง | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600131006 ZHOUBI FENG.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.