Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73505
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | ภัทรนิษฐ์ ดวงคำฟู | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-04T14:56:06Z | - |
dc.date.available | 2022-07-04T14:56:06Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73505 | - |
dc.description.abstract | This study aims to compare the former recruitment process and the current recruitment process of municipal employees to the executive position which was done according to the announcement of the National Council for Peace and Order (NCPO) in Chiang Mai Municipality. The positive and negative effects that occurred due to the current recruitment process at the individual level and organizational level were also investigated to finalize and justify aligned with the good governance, decentralization, motivation, and principal of recruitment. This is the qualitative study that 61 samples were interviewed and related document was studied. The result showed that the current recruitment process of municipal employees to the executive position was different from the former one in terms of the authority of recruitment process, committees, procedure and method, recruiting program, and recruiting list. At the organizational level, it reveals that the new procedure causes more negative effects than positive effects in terms of social aspect, economy and organizational efficiency. At the individual level, the result shows that the new procedure causes more negative effects than positive effects in terms of economy. Lastly, some recruiting processes should be improved to appropriately recruit the municipal employees to executive position. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการสรรหาพนักงานเทศบาล ให้ดำรงตำแหน่งสายงานผู้บริหารเทศบาล ในอำเภอเมือง เชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | A comparative study of recruitment process of municipal employees to executive positions in Mueang Chiang Mai | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การสรรหาบุคลากร -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงานเทศบาล -- การคัดเลือกและสรรหา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้บริหารส่วนราชการ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกระบวนการสรรหาพนักงานเทศบาลให้ดำรงตำแหน่งสายงานผู้บริหารระหว่างกระบวนการเดิมและกระบวนใหม่ (ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 8/2560) รวมทั้งผลกระทบด้านบวกและด้านลบที่เกิดจากกระบวนการสรรหาพนักงานเทศบาลแบบใหม่ที่มีต่อองค์กร และต่อพนักงานเทศบาลกลุ่มต่างๆ ซึ่งจะนำไปสู่การหาข้อสรุปกระบวนการสรรหาพนักงานเทศบาลให้ดำรงตำแหน่งสายงานผู้บริหารที่เหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ หลักแรงจูงใจ และหลักการสรรหา การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 6 คน และศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปผลการศึกษาเบื้องต้น พบว่า กระบวนการเดิมและกระบวนการใหม่มีความแตกต่างกัน ดังนี้ คือ อำนาจหน้าที่ดำเนินการสรรหาคณะกรรมการดำเนินการสรรหา ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการสรรหาหลักสูตรการสรรหา และการขึ้นบัญชี ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง กระบวนการสรรหาต่อองค์กร พบว่าองค์กรมีผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบในมิติด้านเศรษฐกิจและมิติด้านประสิทธิภาพองค์กร ในส่วนผลกระทบที่มีต่อตัวพนักงานเทศบาลกลุ่มต่างๆ พบว่า กระบวนการเดิมและกระบวนการใหม่ มีผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบในมิติด้านสังคม และด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และกระบวนการสรรหาพนักงานเทศบาลให้ดำรงตำแหน่งสายงานผู้บริหารที่เหมาะสมจะต้องมีการปรับปรุงองค์ประกอบของการสรรหาในบางองค์ประกอบ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621932061 ภัทรนิษฐ์ ดวงคำฟู.pdf | 2.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.