Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมลพรรณ ไชยนันท์-
dc.contributor.authorนภาเพ็ญ พูลศิริen_US
dc.date.accessioned2022-07-04T10:59:51Z-
dc.date.available2022-07-04T10:59:51Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73503-
dc.description.abstractThis qualitative research aims to study the representation and meaning of sexuality visual communication of female in ASEAN by focus textual analysis of the famous female photographers in ASEAN including Maika Elan, Watsamon Triyasakda, Nurul Rashid, Lim Paik yin and Hannah Reyes Morales From the study, Analysis and interpretation of gender through semiotic in photo, it was found that the meaning of a sexual object, erotic desires, identity, appearances, display, behaviors, attraction, relationship and having sex with the diversity of identity, race and class. The narrative techniques to the way of social life, the problem of living and sexual orientation by the opening sexuality and diversity of artistic presentations. Nowadays female become an important part of ASEAN artist BY more opening sexuality than before, but still Effected by Gender’s unfairness that direct impact to structuralismen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสื่อสารเรื่องเพศวิถีผ่านภาพถ่ายของศิลปินหญิงในอาเซียนen_US
dc.title.alternativeThe Communication of sexuality through female artists’photographs in Asian countriesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการสื่อสาร-
thailis.controlvocab.thashการสื่อทางภาพ-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารทางเพศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การสื่อสารเรื่องเพศวิถีผ่านภาพถ่ายของศิลปินหญิงในอาเซียนที่สะท้อนเกี่ยวกับเพศวิถี ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ตัวบทของศิลปินหญิงที่มีชื่อเสียง 5 คนได้แก่ Maika Elan ,วรรษมน ไตรยศักดา, Nural Rashid, Hannah Reyes Morales และ Lim Paik Yin จากการศึกษาตีความกับมิติทางเพศวิถีผ่านสัญญะ พบว่ามีการสร้างคุณค่าความหมายของการเป็นวัตถุทางเพศ มิติของความปรารถา การประพฤติ ปฏิบัติ และอัตลักษณ์ มิติการนำเสนอร่างกาย มิติของพฤติกรรม และกิริยามารยาท มิติของการดึงดูดทางเพศ มิติของความสัมพันธ์ มิติของเพศสัมพันธ์ ที่มีความแตกต่างกันด้านอัตลักษณ์ เชื้อชาติ ชนชั้น ศาสนา ผ่านภาพถ่าย นำเสนอวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ปัญหาของการดำรงชีวิต ผ่านการเล่าเรื่อง มีการเปิดกว้างความหลากหลายของผู้หญิง และความหลากหลายในการนำเสนองานศิลปะ และศิลปินหญิงเริ่มมีบทบาทมากขึ้นในวงการศิลปะภาพถ่ายอาเขียน เนื่องจากพื้นที่ทางเพศถูกเปิดกว้างขึ้นมากกว่าในอดีตแต่แนวคิดเหล่านั้นยังคงผูกติดอยู่ในความเหลื่อมล้ำทางเพศอยู่เป็นสำคัญ ซึ่งเป็นผลงานมาจากโครงสร้างนิยม การผสมผสานปนเปของรหัสเพศวิถีในสังคม และวัฒนธรรมจนเกิดเป็นจินตนาการต่อคู่ตรงข้ามของความเป็นเพศชาย เพศหญิง ที่ต้องถูกกดทับ ปิดบัง ซ่อนเร้นเรือนร่างในผลงานศิลปะภาพถ่ายen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591832015 นภาเพ็ญ พูลศิริ.pdf13.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.